สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) ”

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก นุ่นด้วง

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)

ที่อยู่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 530,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สนับสนุนกลุ่มกิจกรรมข้อ 3 (ที่จ่ายเงินตรงจาก สนส.มอ.โดยมีสัญญาหรือข้อตกลง)
  2. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน)
  3. สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ)
  4. สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ
  5. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  6. จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 1
  7. ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน
  8. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน
  9. ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund
  10. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ
  11. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ
  12. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก
  13. ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน
  14. ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 1
  15. ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2
  16. ประชุมติดตามเขียนรายงานโครงการในระบบ
  17. ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ตะกุกเหนือ
  18. ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ไชยคราม-ปากแพรก
  19. ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 2
  20. จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 2
  21. ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3
  22. ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 16 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ทำความเข้าใจกับแผนการดำเนินงาน บทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน
(คณะวิทยากร) 10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 แนะนำการใช้เว็บการพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายผ่านเว็บLocalfund (คณะวิทยากร)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 การสร้างความเข้าใจการเก็บข้อมูลผ่านมือถือ และการเชื่อโยงกับ
เว็บ Localfund  การสรรหาผู้เก็บข้อมูลตำบลละ 4 คน(คณะวิทยากร)
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 การเข้าถึงแหล่งทุนในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่
สุขภาวะ (ดร.ดุริยางค์ วาสนา)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานรู้ และเข้าใจรายละเอียดโครงการและแผนงานกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการสู่ผลลัพธ์
  2. คณะทำงานรับทราบและรับรองแผนกิจกรรม
  3. ได้ผู้ประสานงาน/คณะกลไกขับเคลื่อนโครงการ 8 คน จาก 8 ตำบล
  4. ได้พื้นที่เป้าหมายออกแบบทางสถาปัตย์เพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่สุขภาวะ
          4.1 โรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์ ตำบลปากแพรก
          4.2 ศพด. ไชยคราม ตำบลไชยคราม
  5. ได้พื้นที่โครงการในชุมชน และในสถานศึกษา โครงการละ 35,000 บาท
          5.1 พื้นที่โครงการในชุมชนตำบลน้ำพุ
        5.2 พื้นที่โครงการในชุมชนตำบลป่าร่อน
        5.3 พื้นที่โครงการในสถานศึกษา ศพด. บ้านคราม ตำบลชลคราม
          5.4 พื้นที่โครงการในสถานศึกษา โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ตำบลตะกุกเหนือ
  6. ได้คนเก็บข้อมูลจากทั้ง 8 ตำบลๆละ 3-4 คน
  7. ได้รู้จักแหล่งทุนที่จะเสนอของบประมาณ จากหน่วยจัดการ สสส จ.สุราษฎร์ธานี
          7.1 โครงการขนาดย่อม 60,000 บาท/โครงการ เข้าได้กับประเด็นลดพติกรรมเสี่ยงของโรค NCDs ด้วยหลัก 2อ. (อาหารและการออกกำลังกาย)
          7.2 โครงการทั่วไป 100,000 บาท/โครงการ
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_32.jpgLINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_32.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_3.jpgLINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_3.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๗_26.jpgLINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๗_26.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_35.jpgLINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_35.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_10.jpgLINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_10.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_3.jpgLINE_ALBUM_ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน_๒๔๐๑๑๖_3.jpg

 

23 0

2. ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสร้างความเข้าใจ เพื่อการเข้าถึงแหล่งทุน การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน และการเขียนข้อเสนอโครงการ

ผู้เข้าประชุม คณะทำงาน/ผู้ประสาน/ผู้สนใจจากชุมชน 5 คนจาก 8 ตำบล
1. นายคมพจน์  พิกุลทอง                    โทร  098-6713379      อบต.ตะกุกเหนือ
2. นางสาวทัศณี  มนต์แก้ว                  โทร 085-0694647      อบต.ชลคราม
3. นางสาวศรีสุดา  มุสิก                    โทร 086-0811692      อบต.ชลคราม
4. นางกฤติยาภรณ์  ไทยเสน              โทร 083-6364446      อบต.น้ำพุ
5 นางสาวกานต์รวี  ศิริทอง                โทร 081-7872917      อบต.น้ำพุ
6. นายสมยนึก  นุ่นด้วง  คณะทำงาน/ผู้ประสานงานโครงการฯ

กำหนดการ
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ชี้แจงรายละเอียด/กรอบการสนับสนุนโครงการขนาดย่อม 60,000 บาท และโครงการทั่วไป 100,000 บาท โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ชี้แจงเงื่อนไข และคุณสมบัติผู้ขอรับทุน โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 การสร้างความเข้าใจวิเคราะห์ปัญหาชุมชนด้วยตัวแบบต้นไม้ปัญหา โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 การเขียนใบเสนอขอรับทุน โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าประชุมเข้าใจรายละเอียด วิธีการ เงื่อนไข การเขียนข้อเสนอโครงการขอรับทุน
  2. เขียนใบเสนอขอรับทุน 3 พื้นที่     2.1 ตำบลตะกุกเหนือ โครงการเพื่อผลิตและบริโภคผักปลอดภัย     2.2 ตำบลชลคราม โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สุงอายุในชุมชน     2.3 ตำบลน้ำพุ โครงการลดละเลิกบุหรี่โดยชุมชนเป็นฐาน
  • photo 02.jpg02.jpg
  • photo 01.jpg01.jpg
  • photo 53168_0.jpg53168_0.jpg
  • photo 52910_0.jpg52910_0.jpg
  • photo 52906_0.jpg52906_0.jpg
  • photo 52905_0.jpg52905_0.jpg

 

9 0

3. จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวดที่ 1

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินงวดที่ 1 ให้แก่สถาปนิกส์ ร้อยละ 40 ของสัญญา  เป้นเงิน 36000 บาท เมื่อทั้งคู่ได้ลงนามในสัญญา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สัญญาจ้างออกแบบ

 

1 0

4. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เก็บข้อมูลทท่ผ่านการอบรมการเก็บข้อมุล จาก 8 ตำบลๆละ 4-5 คน ได้ดำเนินการเก็บข้อมุลผ่านระบบ Google Form  เพื่อบันทึกข้อมุล 3 ระดับคือ
ระดับชุมชน จำนวน 1 ชุดๆละ 50 คำถาม ระดับครัวเรือนไม่น้อยกว่า 100 ชุดๆละ  5 คำถาม
ระดับบุคคลไม่น้อยกว่า 200 ชุดละ 24 คำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เก็บข้อมุลครบถ้วนแล้ว  7 ตำบล (ปากแพรก/ชลคราม/ไชยคราม/ป่าร่อน/น้ำพุ/ตะกุกเหนือ/อิปัน) (ขาดของตะเคียนทอง กำลังเร่งรัด)

  • photo 64545.jpg64545.jpg

 

50 0

5. ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

8.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงาน
08.30-10.30 ตรวจสอบข้อมูลประเด็นกิจกรรมทางกาย และประเด็นที่เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแบบเก็บข้อมูล  คณะวิทยากร
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 หลักการบริหารแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกส่งเสริมสุขภาพ คณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-16.00 ทำแผนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุมรายละเอียดสถานการณ์ปัญหา/เป้าหมาย/วัตถุประสงค์-ตัวชี้วัด /แนวทางสู่เป้าหมาย/งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ
มีผู้เข้าประชุมจำนวน 21 คน ดังนี้
  คณะทำงานระดับพื้นที่ 8 คน
  เจ้าหน้าที่กองทุน 7 คน
  เจ้าหน้าที่ทีมสื่อ 2 คน
  คณะวิทยากร 4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแผนกิจกรรมทางกาย  8 ตำบล (ประกอบด้วยสถานการณ์/เป้าหมาย/งบประมาณ/โครงการที่ควรดำเนินการ/ผู้รับผิดชอบโครงการ)
มีแผนงานประเด็นอื่นๆ

  • photo 757998_0.jpg757998_0.jpg
  • photo 757522_0.jpg757522_0.jpg
  • photo 69788_0.jpg69788_0.jpg
  • photo 757523_0.jpg757523_0.jpg
  • photo 69784_0.jpg69784_0.jpg
  • photo 69781_0.jpg69781_0.jpg

 

30 0

6. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงาน
08.30-10.30 สร้างความข้าใจกระบวนการพัฒนาแผนงาน/โครงการส่งเสริม กิจกรรมทางกาย และความเชื่อมโยงของโครงการกับแผนงาน
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ที่เชื่อมโยงกับแผนงานโดยใช้เครื่องมือเว็บ Localfund  คณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ และการออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ โดยใช้เครื่อมือเว็บ Localfund คณะวิทยากร 14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 นำเสนอโครงการ เพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน คณะวิทยากร
ผู้เข้าร่วมประชุมพัฒนาโครงการ 46 คน ดังนี้
คณะทำงานระดับพื้นที่  8 คน
เจ้าหน้าที่กองทุน 8 คน
ผู้เขียนฏโครงการขอรับทุน 24 คน
สื่อมวลชน  2 คน
คณะวิทยากร  4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนงานที่สมบูรณ์ / โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ....15....  โครงการ ดังนี้
ตำบลปากแพรก 10 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลชลคราม.10 แผนงานที่สมบูรณ์  3 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลไชยคราม..8 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลป่าร่อน...9 แผนงานที่สมบูรณ์  1 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลตะเคียนทอง..8 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลน้ำพุ..9 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลตะกุกเหนือ..10 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลอิปัน...10 แผนงานที่สมบูรณ์  1 โครงการกิจกรรมทางกาย

  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_136.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_136.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_145.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_145.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_141.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_141.jpg
  • photo 758003_0.jpg758003_0.jpg
  • photo 758157_0.jpg758157_0.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_71.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 22 กพ._๒๔๐๒๒๒_71.jpg

 

54 0

7. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 23 ก.พ. 2567 เวลา 09.30-15.30 น. ณ  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิงวิภา  ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.มอ.) ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  นายสมนึก  นุ่นด้วง  คณะทำงานและผู้ประสานโครงการ ประชุมปฏิบัติการสำรวจ/ให้ความเห็นเพื่อการออกแบบพื้นที่สุขภาวะของพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิงวิภา  ด้วยการสร้างความเข้าใจกระบวนการเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย โดยมี นางสาวสุธิรา  มุขตา  สถาปนิก และผู้ช่วย สำรวจพื้นที่รับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียดและข้อจำกัดการออกแบบ ปฏิบัติการรังวัดพื้นที่เพื่อการออกแบบ โดยชี้แนะของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หลังจากนั้นได้สรุปผลการสำรวจ รูปแบบและข้อจำกัดแก่ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย คณะทำงาน,ผู้ประสานงานโครงการ, นายกอบต.ตะกุกเหนือและผู้บริหาร,นายช่างโยธา อบต.ตะกุกเหนือ, กำนันตำบลตะกุกเหนือ, ผู้ใหญ่บ้าน,หัวหน้าศพด.บ้านท่านหญิงวิภา,ประธานกรรมการ ศพด.บ้านท่านหญิงวิภา ผู้แทนผู้ปกครอง และสื่อมวลชน เข้าร่วมด้วย จำนวน 19 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความเห้นและความต้องการของผู้เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ในอาคาร ในรั้วรอบบริเวณ และหลังอาคาร พื้นที่ประมาณ 2 ไร่  สรุปความต้องการดังนี้
ภายในอาคาร
กระดานลื่น(Slider)  1 ชุด
นอกอาคาร
ทางเดิน คสล ทำรูปรอยเท้าน่านเดิน
ลาน/หลุมทรายใต้หลังคา
ชิงช้า วงล้อปีนป่าย กระดานลื่น(Slider)
สนามหญ้า ซุ้มนั่งพักมีหลังคา
หลังอาคาร(ประมาณ 1 ไร่ )
ลานเอนกประสงค์ คสล
ทางเดิน-วิ่ง
ศาลาพัก ห้องน้ำ
เครื่องออกกำลังกาย/ สวนสนุก
ไฟส่งสว่าง

  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_51.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_51.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_48.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_48.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_39.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_39.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_42.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_42.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_26.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_26.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_58.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_58.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_6.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_6.jpg
  • photo LINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_144.jpgLINE_ALBUM_23 ก.พ.วิภาวดี_๒๔๐๒๒๓_144.jpg
  • photo 124131_0.jpg124131_0.jpg
  • photo 124133_0.jpg124133_0.jpg
  • photo 124132_0.jpg124132_0.jpg
  • photo 124128_0.jpg124128_0.jpg
  • photo 124133_0.jpg124133_0.jpg

 

15 0

8. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก

วันที่ 6 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-09.30 ลงทะเบียน
09.30-10.30 สร้างความข้าใจกระบวนการเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย การสำรวจพื้นที่ รับฟังความเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียด และข้อจำกัดการออกแบบ แก่ผู้เกี่ยวข้อง  ได้แก่

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม ตำบลไชยคราม
1 นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
2 ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
3 นายช่างโยธาองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
4 หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
5 ผู้แทนครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
6 ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
7 ผู้แทนกรรมการกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
8 ผู้แทนผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
9 กำนันตำบลไชยคราม
10 ผู้ใหญ่บ้านพื้นที่ที่ตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
11    คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลไชยคราม(นางสาวภัททิยา  โพธิ์ขวาง)

โรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์ตำบลปากแพรก
1 นายกองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
2 ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
3 นายช่างโยธาองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
4 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
5 ผู้แทนครูโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
6 ประธานกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
7 ผู้แทนกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
8 ผู้แทนผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
9 กำนันตำบลปากแพรก
10 ผู้ใหญ่บ้านพื้นที่ที่ตั้งโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
11.  คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลปากแพรก(นางสาวณัฐญา  ศรีไสยเพชร)

คณะทำงาน 1. นางสาวไพลิน  ทิพย์สังข์ คณะทำงาน
2. นายสมนึก  นุ่นด้วง คณะทำงาน/ผู้ประสานงานโครงการ
3. นางสาวธีระนุช  มุขตา  สถาปนิกส์
4. นายเศกศิลป์  ชูศรีอ่อน ผู้ช่วยสถาปนิก
5. นางปุญญิสา  สุวรรณ    สื่อสารมวลชน

10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ปฏิบัติการ รังวัด พื้นที่เพื่อการออกแบบ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ปฏิบัติการ รังวัด พื้นที่เพื่อการออกแบบ โดยการชี้แนะของผู้เกี่ยวข้อง
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 สรุปผลการสำรวจ รูปแบบ และข้อจำกัด แก่ผู้เข้าร่วมประชุม /ถาม-ตอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เกี่ยข้องเข้าร่วมประชุมตามเป้าหมาย สถาปนิกส์ได้รับข้อมุลเพื่อการออกแบบดังนี้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม ตำบลไชยคราม ภายนอกอาคาร
    1. ลาน คสล+หญ้าเทียมหน้าผา แทมโพลีน หลุมทราย (หน้า176ตรม)
    2 ลานกีฬา คสล+หญ้าเทียม แป้นบาส ปต. บอล (หลัง330ตรม)
    3 ในโดม(ทางเดิน จราจร ลู่หญ้าเทียม 480 ตรม
ภายในอาคาร
    4 โรงอาหาร 70 ตรม  เครื่องเล่น
    5 ในห้องครัว (อ่างล้างจาน)

รร บ้านเขาพระอินทร์  ตำบลปากแพรก
1. ลานออกกำลังกายหลังอาคาร 640 ตรม(ลานหิน-สนามเปตอง- ทางเดิน PA)
2  หน้าโรงอาหาร  สวนเด็ก หลุมทราย 220 ตรม
3. ลาน BBL ระหว่างอาคาร 6.5x14 m 90 ตรม
4. ข้างโรงอาหาร 150 ตรม  ทางเดินต่างระดับ

  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_31.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_31.jpg
  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_23.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_23.jpg
  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_26.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_26.jpg
  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_3.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_3.jpg
  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_8.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_8.jpg
  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_9.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_9.jpg
  • photo LINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_38.jpgLINE_ALBUM_รร.บ้านเขาพระอินทร์_๒๔๐๓๑๐_38.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_20.jpgLINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_20.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_50.jpgLINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_50.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_29.jpgLINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_29.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_26.jpgLINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_26.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_47.jpgLINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_47.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_41.jpgLINE_ALBUM_ศพด.ไชยคราม_๒๔๐๓๑๐_41.jpg

 

33 0

9. ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน

วันที่ 20 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-10.30 ทบทวนกระบวนการพัฒนาโครงการที่เชื่อมโยงกับแผน และการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ตรวจเอกสารทำข้อตกลง
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 เรียนรู้การเขียนรายงานกิจกรรมผ่าน เว็บ
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 เรียนรู้การจัดทำเอกสารการเงิน และการทำรายงานผ่านเว็บ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมตามแผน 18 คน
  2. โครงการได้รับการทำข้อตกลง 5 โครงการ( ในชุมชน 3 โครงการ /ในสถานศึกษา 2 โครงการ งบประมาร 140,000 บาท)
      2.1  ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-037  โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา 35,000บาท
      2.2  ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-038  โครงการส่งเสริมการการออกกำลังกาย ในกลุ่มเสี่ยง NCDs  35,000บาท   2.3  ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-039  โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน  35,000บาท   2.4  ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-040  โครงการพิชิตกายแข็งแรงด้วยกิจกรรมทางกาย  15,000 บาท   2.5  ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-041  โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายผู้สูงอายุตำบลชลคราม 20,000 บาท
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_50.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_50.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_35.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_35.jpg
  • photo 77954.jpg77954.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_55.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_55.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_15.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_15.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_49.jpgLINE_ALBUM_ประชุมวันที่ 20 มีนาคม_๒๔๐๓๒๑_49.jpg

 

18 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1. อปท. มีแผน และโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย 10 แห่ง 2. อปท. มีศักยภาพในการพัฒนาแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย 10 กลุ่มหรือชมรม
1.00

 

2 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1. พื้นที่ต้นแบบสุขภาวะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายนำร่องในชุมชน 2 พื้นที่ 2. พื้นที่นำร่องปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชุมชน 2 พื้นที่ 3. พื้นที่นำร่องปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานศึกษา (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน) 2 พื้นที่ 4. บทเรียน/องค์ความรู้ ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ 2 เรื่อง
2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สนับสนุนกลุ่มกิจกรรมข้อ 3  (ที่จ่ายเงินตรงจาก สนส.มอ.โดยมีสัญญาหรือข้อตกลง) (2) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (3) สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ) (4) สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ (5) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (6) จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 1 (7) ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน (8) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (9) ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ (11) กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ (12) กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก (13) ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน (14) ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 1 (15) ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 (16) ประชุมติดตามเขียนรายงานโครงการในระบบ (17) ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ตะกุกเหนือ (18) ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ไชยคราม-ปากแพรก (19) ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 2 (20) จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 2 (21) ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3 (22) ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมนึก นุ่นด้วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด