สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1. อปท. มีแผน และโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย 10 แห่ง 2. อปท. มีศักยภาพในการพัฒนาแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย 10 กลุ่มหรือชมรม
1.00

 

2 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1. พื้นที่ต้นแบบสุขภาวะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายนำร่องในชุมชน 2 พื้นที่ 2. พื้นที่นำร่องปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชุมชน 2 พื้นที่ 3. พื้นที่นำร่องปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานศึกษา (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน) 2 พื้นที่ 4. บทเรียน/องค์ความรู้ ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ 2 เรื่อง
2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สนับสนุนกลุ่มกิจกรรมข้อ 3  (ที่จ่ายเงินตรงจาก สนส.มอ.โดยมีสัญญาหรือข้อตกลง) (2) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (3) สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ) (4) สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ (5) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (6) จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 1 (7) ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน (8) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (9) ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ (11) กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ (12) กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก (13) ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน (14) ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 1 (15) ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 (16) ประชุมติดตามเขียนรายงานโครงการในระบบ (17) ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ตะกุกเหนือ (18) ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ไชยคราม-ปากแพรก (19) ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 2 (20) จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 2 (21) ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3 (22) ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh