สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 11

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด : 1. การจัดการความรู้ นวัตกรรม และสื่อรณรงค์ ได้แก่ คู่มือการพัฒนา ติดตามประเมินผลโครงการ สื่อประสัมพันธ์ เอกสารชุดความรู้ เป็นต้น 2. เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพเกิดความรอบรู้มีขีดความสามารถด้านสุขภาวะ ได้แก่ - เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพมีความรอบรู้และมีความสามารถด้านสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกาย อาหาร จัดการปัจจัยเสี่ยงสุรายาเสพติด และด้านอื่นๆ - ทีมพี่เลี้ยง นักวิชาการและผู้เสนอโครงการมีทักษะการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผล - มีข้อเสนอโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
0.00

 

2 ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : 1. เกิดพื้นที่สุขภาวะต้นแบบในการบูรณาการการทำงานร่วมของ สสส.-สปสช.-สธ. ที่สามารถนำไปขยายผลในเชิงพื้นที่และเชิงนโยบาย ได้แก่ มีพื้นที่ต้นแบบนำร่องอย่สงน้อยจังหวัดละ 1 พื้นที่ 2. เกิดนโยบายสาธารณะทั้งในระดับชาติ ระดับพื้นที่ ระดับหน่วยงาน ได้แก่ - ข้อเสนอเชิงนโยบายระบบบริการสุขภาพในการบูรณาการสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ - กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่มีแผนงานหรือยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาวะ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. (2) ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ (2) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม (3) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) (4) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. (5) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 1 จ.ภูเก็ต (6) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 2 จ.นครศรีธรรมราช (ทน.นครศรีฯ) (7) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 3 จ.สุราษฏร์ธานี (8) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 4 จ.ชุมพร (9) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 5 จ.พังงา (10) จัดทำแผนงาน และพัฒนาโครงการ / บันทึกโครงการ (ทีมพี่เลี้ยง และเจ้าหน้ากองทุน ) (11) นำเสนอโครงการเข้าสู่คณะกรรมการกองทุน (12) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 6 จ.นครศรีฯ (ทม.ปากพูน) (13) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 7 จ.ระนอง (14) ประชุมทีมระดับเขต เพื่อสร้างความเข้าใจ/กำหนดเป้าหมาย/วางแผนร่วม (พชอ./คกก.กองทุน) (15) การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 8 จ.กระบี่ (16) จัดเวทีพัฒนาศักยภาพทีมระดับพื้นที่ (17) ติดตามเสริมพลังโครงการที่ผ่านการอนุมัติ (ทีมพี่เลี้ยง และเจ้าหน้ากองทุน ) (18) ติดตามเสริมพลัง (ประสานความร่วมมือกับภาคีหรือจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้) (19) ประชุมทีมระดับเขต เพื่อติดตามความก้าวหน้าและพัฒนากระบวนการดำเนินงาน (20) ติดตามประเมินผลการบันทึกการรายงานผล (21) ประชุมสรุปประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh