สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 ”

ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด

หัวหน้าโครงการ
นายธนาคาร ผินสู่

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7

ที่อยู่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด จังหวัด ขอนแก่น

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 จังหวัดขอนแก่น" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 " ดำเนินการในพื้นที่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 610,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
  2. ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
  2. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
  3. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
  4. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
  5. 2.1 การหารือคณะกรรมการ พชอ.ขอนแก่น
  6. 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
  7. 2.3 การหารือคณะกรรมการ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
  8. 2.4 การหารือคณะกรรมการ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
  9. การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ
  10. 3.1 เวทีชี้แจงโครงการฯ เทศบาลนครขอนแก่น
  11. 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
  12. 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
  13. 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
  14. 4.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ เทศบาลนครขอนแก่น ”
  15. 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
  16. 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
  17. 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
  18. 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) เทศบาลนครขอนแก่น
  19. 5.2 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
  20. 5.3 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
  21. 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
  22. 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่
  23. 7.เวทีสรุปบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ

วันที่ 20 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกระบวนการดำเนินงานโครงการฯ
  2. พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดแลกเปลี่ยนสถานการณ์การขับเคลื่อนงานกองทุนฯ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
  3. ผู้ประสานงานเขตนำเสนอร่างแผนและวิธีการดำเนินงานโครงการฯ พร้อมให้ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  4. ผู้ประสานงานเขตแนะนำเครื่องมือ/โปรแกรมออนไลน์ต่อผู้เข้าร่วมประชุม
  5. พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดออกแบบแผนงาน วิธีการทำงานของแต่ละพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ทีม/แกนนำทำงานโครงการฯ ของเขต จำนวน 15 คน ที่มาจากหลายภาคส่วน ได้แก่ สปสช.เขต 7, สสจ.และ สสอ. แต่ละจังหวัด, ตัวแทน พชอ., เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และผู้รับผิดชอบงานกองทุน
  2. ทีมเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวธีการดำเนินงานของโครงการฯ ร่วมกัน
  3. เกิดการมีส่วนร่วมในการออกแบบแผนงาน กิจกรรม และกระบวนการทำงานร่วมกัน และได้แผนการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่หรือสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ จำนวน 4 แผน ที่แตกต่างกัน
  4. ทีมเข้าใจบทบาท หน้าที่ และมีแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่อย่างชัดเจน โดยการกำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวของในพื้นที่ บทบาทของแต่ละภาคส่วน และรายละเอียดวัน เวลา สถานที่ในการจัดกิจกรรมพัฒนาแผนงานกองทุน
  5. รับรู้และเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันของการขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ของแต่ละจังหวัด
  6. ที่ประชุมได้ทำความรู้จักกับเครื่องมือ/โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์เบื้องต้น พร้อมแลกเปลี่ยน และแนะนำวิธีการในการใช้งานอย่างง่ายและสะดวกเมื่อนำไปใช้จริง
  7. ได้แนวทางในการบูรณาการการขับเคลื่อนงานกองทุนร่วมกับ พชอ. เช่น การจัดเวทีปรึกษาหารือย่อยเพื่อทำความเข้าใจร่วมกัน การจัดเวทีประสานแผนงานโครงการซึ่งแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ 1. แผนงานที่สอดคล้องกับ พชอ. และ 2. การผลักดันแผนงานอื่นๆ ที่ไม่สอดคล้องในปีงบประมาณถัดไป
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

15 0

2. 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด

วันที่ 17 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายโครงการ โดย ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก หัวหน้าโครงการฯ
  2. นำเสนอรายละเอียดแผนงานโครงการ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนและออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนโครงการร่วมกัน
  3. แลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย โดยตัวแทนกองทุน จำนวนทั้งสิ้น 10 กองทุน และแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของ พชอ.โพธิชัย โดยเลขา พชอ.ฯ
  4. แนะนำและสอนการใช้โปรแกรมออนไลน์ฯ โดยนางสาวจุติมาพร พลพงษ์ ผู้ประสานงานโครงการ
  5. ทดลองบันทึกข้อมูลการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนในโปนแกรมออนไลน์ โดยตัวแทนผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้รับทราบและทำความเข้าใจร่วมกันถึงเป้าหมาย รายละเอียด และวิธีการดำเนินงานโครงการร่วมกัน พร้อมทั้งได้มีส่วนร่วมในการออกแบบวิธีการดำเนินงานในระดับพื้นที่ร่วมกัน
  • คณะทำงานโครงการได้ทราบและเข้าใจบทเรียนการขับเคลื่อนงานกองทุนในพื้นที่ และการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับ พชอ. สามารถนำไปออกแบบแนวทางในการดำเนินงานโครงการได้
  • คณะกรรมการ พชอ. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รู้จักโปรแกรมออนไลน์ มองเห็นประโยชน์จากการใช้โปรแกรมออนไลน์ แต่ยังมีข้อกังวลว่าโปรแกรมออนไลน์จะเป็นภาระเพิ่มให้กับผู้รับผิดชอบงานกองทุน เนื่องจากยังไม่ได้บูรณาการให้เป็นโปรแกรมเดียวกับของ สปสช. ซึ่งเป็นโปรแกรมหลักที่กองทุนต้องใช้เมื่อมีการขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนตำบล "ต้องกรอกซ้ำซ้อน"
  • ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสามารถเข้าใจและเข้าใช้โปรแกรมออนไลน์ได้ในเบื้องต้น
  • มีการทดลองพัฒนาแผนงาน/โครงการ และบันทึกข้อมูลเบื้องต้นลงในโปนแกรมออนไลน์จำนวน 6 แผนงาน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

39 0

3. 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด

วันที่ 1 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด แบ่งออกเป็น 2 ครั้ง (2 โซน) ครั้งละ 5 กองทุน โดยในแต่ละครั้งมีกระบวนการ ดังนี้

  1. ผู้ประสานงานโครงการทบทวนรายละเอียดโครงการ
  2. พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบงานกองทุนเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการด้านสุขภาพแต่ละแผนงาน โดยใช้คู่มือจากทีมวิชาการกลาง
  3. การทบทวนการใช้โปรแกรมออนไลน์ และทดลองพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อเป็นการทำความเข้าใจการใช้โปรแกรมออนไลน์เบื้องต้น โดยเลือกแผนงานป้องกันฯ โควิด มาทดลองร่วมกัน
  4. ผู้รับผิดชอบงานกองทุนบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพตำบลลงในโปรแกรมออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้รับผิดชอบงานกองทุนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการสุขภาพของแต่ละแผนงานมากขึ้น เช่น เข้าใจว่าการมีกิจกรรมทางกายไม่ได้หมายถึงการออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึงการเดิน การเคลื่อนไหวร่างกายขณะเรียนหรือทำงาน เป็นต้น
  • ผู้รับผิดชอบงานกองทุนเข้าใจและสามารถใช้งานโปรแกรมออนไลน์ได้คล่องแคล่วมากขึ้น ความอึดอัดใจในการใช้โปรแกรมออนไลน์ลดลง ยอมรับได้มากขึ้น เห็นประโยชน์จากการใช้งานโปรแกรมออนไลน์มากขึ้น
  • มีการบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการในโปรแกรมออนไลน์ครอบคลุมเกือบทุกแผนงาน จำนวนทั้งสิ้น 55 แผนงาน 61 โครงการ
  • มีข้อเสนอในเวทีให้แก้ไขโปรแกรมออนไลน์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น ได้แก่ ข้อมูลสถานการณ์ของกองทุนตำบลกับข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ดำเนินการ (ในแบบฟอร์มกองทุน) ควรลิ้งค์กัน โดยให้แก้เฉพาะขนาดของปัญหาให้สอดคล้องกับขนาดพื้นที่ปฏิบัติการ เพราะกองทุนส่วนใหญ่ดำเนินการโครงการในระดับตำบล, การพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ให้สามารถใช้งานได้บนโทรศัพท์มือถือ และพัฒนาเป็น Application เพราะทำให้ใช้งานได้สะดวกกว่า และโปรแกรมออนไลน์ควรวิเคราะห์และประมวลผลให้ได้ในเบื้องต้นว่าควรดำเนินการโครงการอะไร แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพคืออะไร โดยการพิจารณาจากข้อมูลสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่นั้นๆ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

39 0

4. 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์

วันที่ 22 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายโครงการ โดย ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก หัวหน้าโครงการฯ
  2. นำเสนอรายละเอียดแผนงานโครงการ  โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนและออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนโครงการร่วมกัน
  3. แลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอสมเด็จ โดยตัวแทนกองทุน จำนวนทั้งสิ้น 9 กองทุน และแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของ พชอ. สมเด็จ โดยเลขา พชอ.ฯ
  4. แนะนำและสอนการใช้โปรแกรมออนไลน์ฯ โดยนางสาวจุติมาพร พลพงษ์ ผู้ประสานงานโครงการ
  5. ทดลองบันทึกข้อมูลการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนในโปนแกรมออนไลน์ โดยตัวแทนผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้รับทราบและทำความเข้าใจร่วมกันถึงเป้าหมาย รายละเอียด และวิธีการดำเนินงานโครงการร่วมกัน พร้อมทั้งได้มีส่วนร่วมในการออกแบบวิธีการดำเนินงานในระดับพื้นที่ร่วมกัน
  • คณะทำงานโครงการได้ทราบและเข้าใจบทเรียนการขับเคลื่อนงานกองทุนในพื้นที่ และการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับ พชอ. สามารถนำไปออกแบบแนวทางในการดำเนินงานโครงการได้
  • คณะกรรมการ พชอ. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รู้จักโปรแกรมออนไลน์ มองเห็นประโยชน์จากการใช้โปรแกรมออนไลน์ แต่ยังมีข้อกังวลว่าโปรแกรมออนไลน์จะเป็นภาระเพิ่มให้กับผู้รับผิดชอบงานกองทุน เนื่องจากยังไม่ได้บูรณาการให้เป็นโปรแกรมเดียวกับของ สปสช. ซึ่งเป็นโปรแกรมหลักที่กองทุนต้องใช้เมื่อมีการขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนตำบล "ต้องกรอกซ้ำซ้อน" ทั้งยังมีโปรแกรมออนไลน์อื่นๆ ที่ต้องรับผิดชอบ
  • ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสามารถเข้าใจและเข้าใช้โปรแกรมออนไลน์ได้ในเบื้องต้น
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

36 0

5. 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์

วันที่ 7 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบทวนรายละเอียดและเป้าหมายโครงการ
  2. ผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุนระดมความคิดเห็น และคัดเลือกประเด็นเพื่อนำมาพัฒนาแผนงาน/โครงการ
  3. บันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการลงในโปรแกรมออนไลน์
  4. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพิ่มเติม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้รับผิดชอบงานกองทุน บันทึกแผนได้ 49 แผนงาน 90 โครงการ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

36 0

6. 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม

วันที่ 11 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการ ความสำคัญ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิธีการดำเนินงานต่อผู้เข้าร่วมประชุม
  2. แลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนงานของ พชอ.บรบือที่ผ่านมา
  3. ระดมความคิดเห็น เพื่อหาแนวทางในการบูรณาการการขับเคลื่อนงานร่วมกันระหว่างกองทุนตำบล และ พชอ.
  4. ออกแบบวิธีการดำเนินงานโครงการร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • บทเรียนการขับเคลื่อนงานของ พชอ.บรบือ ที่ผ่านมา คือ การสร้างกลไกท้องถิ่น/ท้องที่ ในการขับเคลื่อน พชอ. เช่น มีอนุกรรมการติดตามงานตามความถนัดหรือความสามารถของแต่ละบุคคล การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ พชอ.อย่างต่อเนื่อง
  • ได้แนวทางการขับเคลื่อนงานร่วมกัน คือ การกำหนดประเด็นร่วมระหว่าง พชอ.กับกองทุนตำบล ได้แก่ ความปลอดภัยทางถนน
  • นัดหมายผู้รับผิดชอบงานทั้ง 16 กองทุน เพื่อพัฒนาแผน/โครงการ โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ วันที่ 26 สิงหาคม 2563
  • มีข้อเสนอในการปรับใช้โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุน คือ ประเด็นที่ระบุไว้ในโปรแกรมออนไลน์ ควรครอบคลุมคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกด้าน เช่น สาธารณภัย/ภัยพิบัติ เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

7. 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม

วันที่ 22 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงความสำคัญและแผนงานฯ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7 2.เปิดเวทีประชุมฯ และแนวทางการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย นายปรีชาพงศ์ ทองมี นายอำเภอบรบือ 3.การออกแนวทางการทำงานร่วมกัน โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้ - การแลกเปลี่ยนสถานการณ์ การขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) - ร่วมออกแนวทางการทำงานร่วมกัน ขอความร่วมมือ หาแนวทางยุทธศาสตร์การทำงาน โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7 4.แนะนำการใช้งานและฝึกปฏิบัติเครื่องมือ/โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7
5.การวิเคราะห์และคัดเลือกประเด็นหรือปัญหาที่สนใจนำมาจัดทำแผน/โครงการฯ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7 6.นำแผน/โครงการฯ บันทึกลงโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7 7.สรุปผลการประชุม และสิ่งที่จะขับเคลื่อนต่อไป โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ พชอ.บรบือ ได้บันทึกแผนงานลงในโปรแกรมออนไลน์จำนวน 17 แผนงาน 9 โครงการ แต่ยังบันทึกข้อมูลไม่สมบูรณ์ ซึ่งมีนัดหมายติดตามในครั้งต่อไปในวันที่ 19 มกราคม 2564 เพื่อทบทวนและบันทึกข้อมูลให้ถูกต้องสมบูรณ์ต่อไป

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

57 0

8. 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "การติดตามประเมินผลโครงการกองทุนสุขภาพด้วยโปรแกรมออนไลน์" พื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564

การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 2 การติดตามคณภาพข้อมูลที่บันทึกในโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 5 มีนาคม 2564

การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 3 การติดตามประเมินผลโครงการกองทุนสุขภาพด้วยโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอสมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ วันที่  24  มีนาคม 2564

การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 4 การติดตามคุณภาพข้อมูลที่บันทึกในโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 26 มีนาคม 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ได้ตรวจสอบ ทบทวนและบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการให้ถูกต้องและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ได้เรียนรู้ระบบติดตามประเมิลผลโครงการ พร้อมทั้งทดลองบันทึกข้อมูลในระบบติดตามประเมินผล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

236 0

9. 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายการประชุมฯ  ติดตามการขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่พัฒนาแผนและโครงการด้านสุขภาพของกองทุนสุขภาพตำบล จัดทำแผนและโครงการด้านสุขภาพของกองทุนสุขภาพตำบลแต่ละกองทุน นำข้อมูลแผนและโครงการด้านสุขภาพ พร้อมทั้งบันทึกในโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้ทดลองบันทึกแผนและโครงการด้านสุขภาพในโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดยใช้ปีงบประมาณ 2564

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

57 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. (2) ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน  การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ (2) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ  ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม (3) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ  (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) (4) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. (5) 2.1 การหารือคณะกรรมการ พชอ.ขอนแก่น (6) 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม (7) 2.3 การหารือคณะกรรมการ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ (8) 2.4 การหารือคณะกรรมการ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด (9) การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ (10) 3.1 เวทีชี้แจงโครงการฯ เทศบาลนครขอนแก่น (11) 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม (12) 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ (13) 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด (14) 4.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ เทศบาลนครขอนแก่น ” (15) 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม (16) 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ (17) 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด (18) 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) เทศบาลนครขอนแก่น (19) 5.2 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม (20) 5.3 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ (21) 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด (22) 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่ (23) 7.เวทีสรุปบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 จังหวัด ขอนแก่น

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนาคาร ผินสู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด