สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่) ”

ม.5 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนภัสสร แสงประดับ (0805494937)

ชื่อโครงการ โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่)

ที่อยู่ ม.5 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.5 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.5 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสถานการณ์โลกปัจจุบันนี้การบริโภคพืชผักถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีพของมนุษย์ เพราะพืชผักเป็นแหล่งของวิตามิน เกลือแร่ และกากใย อีกทั้งยังมีสารอาหารที่ช่วยในการเกิดโรคต่างๆจึงทำให้ความนิยมความนิยมในการบริโภคผักมีมากขึ้น แต่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก เพราะพืชผักส่วนใหญ่ที่วางขายในท้องตลาดทั่วไป พบว่ามีสารพิษตกค้างที่เป็นอันตรายต่อู้บริโภต ด้วยเหตุนี้จึงมีการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหารสากล หรือ codex ซึ่งเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศรับรองว่าผักปลอดภัยประชาชนส่วนใหญ่จึงหันมาสนใจดูแลสุขภาพของตนเองมากข้น เพื่อหลีกเลี่ยงการตายผ่อนส่งจากอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษจากการใช้สารเคมีกำจัดศัครูพืช รวมทั้งเชื้อโรคต่างๆที่ปนเปื้อนกับการปลูกพืชบนดิน โดยบริโภคผักปลอดสารพิษ ซึ่งในปัจจุบันการผลิตผักปลอดสารพิษมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น การปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักในโรงเรือน การปลูกผักไร้ดิน ( Hydroponics)ฯลฯ แต่การปลูกพืชบนดินมักมีปัญหาเกี่ยวกับโรคและแมลงในดิน เพราะมีการเจริญเติบโตช้าและอ่อนแอทำให้โรคแมลงเข้ามาทำลายได้ง่ายรวมทั้งการจัดการปุ่ยและระบบน้ำทำได้ยาก เพราะการดูดซับของดินความเป็นกรด-ด่าง และสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการนำธาตุอาหารที่มีอยู่ในดินไปใช้ ทำให้พืชที่ปลูกบนดินเจริญเติบโตได้ไม่เต็มศักยภาพตามพันธุกรรมของพืชนั้นๆ ส่วนการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หรือการปลูกพืชไร้ดินนั้นเป็นการปลูกพืชเรียนแบบธรรมชาติ โดยการปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหาร(Hydroponics) หรือปลูกลงในวัสดุปลูกที่ไม่ใช้ดิน (Soiliess culture) ซึ่งอาศัยหลักการที่ว่าพืชต้องได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตผ่านระบบรากพืชพร้อมกับได้รับออกซืเจนและแสงแดดที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโค ทำให้พืชที่ปลูกแบบไม่ใช้ดินมีการเจริญเติบโตเต็มที่ตามศักยภาพพันธุกรรม เพราะสามารถใช้สารละลายธาตุอาหารและน้ำที่ได้รับอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นการลูกพืชแบบไม่ใช้ดินจึงเป็นแนวทางเลือกใหม่ในอนาคต เพื่อลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ่ยและระบบน้ำ ประหยัดแรงงาน ทำให้เกษตรกรสามารถปลูกผักแบบไม่ใช้ดินที่ปลอดสารพิษไว้บริโภคและเหลือจำหน่ายในพื้นที่ใกล้เคียงเป็นการเพิ่มรายได้ได้อีกทางหนึง จากประเด็นที่กล่าวมาโรงเรียนในไร่มีความสนใจในการศึกษาการปลูกพืชไร้ดินไฮโรโพนิกส์เพื่อเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการปลูกพืชไร้ดินให้เข้าใจในการนำไปปฏิบัติการปลูกพืชไร้ดินไว้บริโภคในโรงเรียนและลงสู่ครัวเรือนและหากเหลือก็สามารถจำหน่ายเป็นรายได้เสริมของครอบครัวดังนั้นโรงเรียนบ้านไร่ จึงได้เสนอโครงการสร้างนวัตกรรมใหม่ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
  2. เพื่อสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเตรียมแปลงผักไฮโดรโปนิกส์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่ 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.โรงเรียนบ้านไร่ มีนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

2.นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเตรียมแปลงผักไฮโดรโปนิกส์

วันที่ 10 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ติดตั้งโรงเรือนปลูกผัก จำนวน 1 โรงเรือน และปลูกในโรงเรือนจำนวน 6 ชนิด เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า เรดโอด กรีนโอด ผักกาดขาว

2.ครูให้ความรู้นักเรียน จำนวน 3 คน ในการปลูกผักและดูแลรักษา เช่นการให้น้ำ ปุ๋ย ในแปลงผัก
3.ครูแบ่งนักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน 30 คนรับผิดชอบในการดูแลแปลงผัก เช่น การใส่ปุ๋ย เติมน้ำ เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้โรงเรือนผักไฮโดรโปนิกส์จำนวน..1..โรงเรือน

2.ครูแบ่งนักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน..30...รับผิดชอบในการดูแลแปลงผัก

3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

 

45 0

2. เก็บเกี่ยวผลผลิตส่งโครงการอาหารกลางวัน

วันที่ 3 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถม ช่วยกันเก็บผักที่ปลูก เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า เรดโอด กรีนโอด ผักกาดขาวส่งให้โครงการอาหารกลางวัน จำนวน 5 กก../สัปดาห์

2.แม่ครัวนำผักที่ปลูกในแปลง มาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน จำนวน 140 คน ได้รับประทาน ทำให้นักเรียนกินผักเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนจำนวน..140....คนได้กินผักเพิ่มมากขึ้น

2.โรงเรียนมีแหล่งผลิตผักที่ปลอดภัย

3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้กินผักเพิ่มขึ้น
100.00 85.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ตัวชี้วัด : 1.มีผลผลิตทางการเกษตร โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชน และเครือข่ายในพื้นที่ 2.ผลผลิตทางการเกษตรใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน
70.00 85.00

ครัวเครือนต้นแบบ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่ 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน (2) เพื่อสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียมแปลงผักไฮโดรโปนิกส์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โรงเรียนบ้านไร่ (โรงเรียนบ้านไร่) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนภัสสร แสงประดับ (0805494937) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด