สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) ”

หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)

ที่อยู่ หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็ก วัยเรียนเป็นวัยที่กําลัง เจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและ สมอง จึงต้องการสารอาหาร และพลังงานเพื่อใช้ในการ เจริญเติบโต เด็กวัยนี้ควรได้รับ สารอาหารที่เพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกายโดยได้รับ อาหารครบทั้ง 5 หมู่ วันละ 3 มื้อ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (สารอาหารและความ ปลอดภัย) หากเด็กได้รับ สารอาหารไม่เพียงพอ จะทําให้ การเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย และสมองไม่ได้เต็มศักยภาพ ในทางตรงข้ามการบริโภค อาหารที่มากเกินไปของเด็กจะ นําไปสู่ภาวะโภชนาการเกิน และโรคอ้วน ข้อมูลจาก ปี 2560 ในโรงเรียนบ้านนาจะ แหน พบว่า เด็กที่มีน้ําหนักต่ํากว่าเกณฑ์มีอัตราร้อยละ 7- 10 อัตราโรคอ้วนโรงเรียน ร้อย ละ 1-3 ปัจจัยที่มีอิทธิพล คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารมื้อ หลักและอาหารจานด่วนที่มี ไขมันสูง ผักผลไม้น้อย อาหาร ว่าง (ขนมหวานและขนมกรุบ กรอบ) เครื่องดื่มรสหวาน น้ําอัดลม รวมทั้งขาดกิจกรรม การออกกําลังกาย ทางโรงเรียน มีนโยบายด้านการสร้างเสริม สุขภาพ แต่ยังไม่มีการ ดําเนินการแก้ไขปัญหา โภชนาการอย่างเป็นรูปธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเลี้ยงปลาดุก
  2. การปลูกผักสวนครัว
  3. เพาะเห็ดนางฟ้า
  4. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.โรงเรียนมีผัก เห็ด และปลาดุกร้อยละ60 ถูกจำหน่ายเพื่อนำไปประกอบอาหารให้นักเรียน 2.นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้การปลูกผัก การเพาะเห็ด และการเลี้ยงปลาดุกโดยลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว

วันที่ 11 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียน10 คน ช่วยกันเก็บผลผลิต ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด รวม4 กก เพื่อมาประกอบอาหารให้กับนักเรียน เมนูผัดผักให้กับนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ปลูกผักกวางตุ้ง 4 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 7-8 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 89 กิโลกรัม
  • ปลูกผักบุ่ง 4 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5-6 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 89 กิโลกรัม

 

10 0

2. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว

วันที่ 11 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียน10 คน ช่วยกันเก็บผลผลิต ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด รวม4 กก เพื่อมาประกอบอาหารให้กับนักเรียน เมนูผัดผักให้กับนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลผลิตคือผักบุ้งและผักกาดส่งโรงครัวเพื่อปรุงอาหารให้นักเรียน

 

10 0

3. การปลูกผักสวนครัว

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ปรับปรุงสภาพดิน 2.ทำแปลงผักพร้อมใส่ปุ๋ย 3.เพาะเมล็ด 4.นำกล้าผักลงปลูกในแปลงผักที่เตรียมไว้ 5.ดูแลรักษา รดน้ำ พรวนดิน กำจัดวัชพืช 6.เก็บผลผลิตเพื่อไปจำหน่ายให้โรงครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปลูกผัก 3ชนิดได้แก่ ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด ผักที่ให้ผลผลิตแล้วได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาด

  • ผลิตที่ได้ เพาะเห้ดจำนวน 200 ก้อน ได้เห็ดสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 4-5 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 70 กิโลกรัม

 

30 0

4. เพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.สร้างโรงเรือน 2.เพาะเชื้อเห็ด บรรจุใส่ถุงกับทีมศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 3.วางก้อนเห็ดในโรงเรือน 4.เก็บผลผลิต จำหน่างสู่โรงครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เก็บเห็ดนำมาจำหน่ายให้โรงครัวและผู้ปกครอง

 

20 0

5. การเลี้ยงปลาดุก

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ซื้ออุปกรณ์ 2.ซ่อมแซมบ่อปลาดุก 3.ซื้อพันธุ์ปลาและอาหารปลา 4.ลงปลาในบ่อ 5.ดูแลให้อาหารอย่างสม่ำเสมอ 6.จับปลาดุกขายให้โรงครัวเพื่อประกอบอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ปลาดุกที่สามารถนำมาจำหน่ายให้โรงครัวเพื่อประกอบอาหารให้นักเรียน

  • ผลผลิต ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 9 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 50 กิโลกรัม

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร
ตัวชี้วัด : 1.เด็กนักเรียน มี ลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็ก นักเรียน มีลักษณะ ร่างกาย น้ําหนัก เพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียน ร้อยละ 80 มีสุข นิสัยที่ดีในการ รับประทานอาหาร
80.00 80.00

หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย
ตัวชี้วัด : 2.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทาน อาหารที่มีคุณค่า ทางโภชนาการ
80.00 80.00

นักเรียนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม

3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน
ตัวชี้วัด : 3.ผู้เรียนร้อยละ70 ได้รับการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราช
70.00 80.00

นักเรียนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเลี้ยงปลาดุก (2) การปลูกผักสวนครัว (3) เพาะเห็ดนางฟ้า (4) เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด