สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์) ”

หมู่ที่ 5 ตำบลโรง อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรรณเพ็ญ พัทบุรี (0892133058)

ชื่อโครงการ โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์)

ที่อยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลโรง อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 ตำบลโรง อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตำบลโรง อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

"เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมอบแด่พสกนิกรชาวไทย เพื่อเป็นแนวทางในการดำรงชีวิตบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง มีคุณธรรม กับความรู้เพื่อให้คนส่วนใหญ่ พออยู่ พอกิน พอมี พอใช้ โดยคำนึงถึง 3 หลักการ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ดังนั้น โรงเรียนจึงน้อมนำหลกปรัชญามาสู่การปฏิบัติเพื่อบูรณาการเนื้อหา ความรู้ กับชีวิตจริง โดยใช้กิจกรรมปลูกผักสวนครัวและประมง เพื่อนำผลิตที่ได้มาทำเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนได้รับประทานทุกวัน ทำให้นักเรียนได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ตลอดจนมีสุขอนามัยที่ดีทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้นาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
  2. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะ โภชนาการด้านน้ าหนักและ ส่วนสูงตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    นักเรียน 87

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • นักเรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการ มีีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีทุกคน
    • นักเรียนมีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทุกคน
    • นักเรียนได้มีอาหารกลางวันรับประทานทุกคน
    • นักเรียนมีภาวะโภชนาการสูงขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ทำโครงเหล็กสำหรับปลูกผักเลื้อย

    วันที่ 3 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับทำโครงเหล็กสำหรับไว้ปลูกไม้เลื้อย  และเป็นโรงเรือนในตัว โดยใช้เวลาทำ  5 วัน  คือ  วันที่ 3 - 7 มิถุนายน 2562

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้โครงเหล็กที่สามารถ ใช้สำหรับปลูกไม้เลื้อย  รวมถึงพืชผักอื่นๆ ได้ นักเรียนได้ปลูก  บวบ  และ  แตงกวา  ที่ข้างๆ โครงเหล็ก ส่วนภายในโครงเหล็ก ก็ปลูกพืชสวนครัว เช่น ผักกาด ผักคะน้า เพื่อให้นักเรียน ครู  และบุคลากรได้มีผักปลอดสารพิษไว้ทานตลอดปี

     

    100 0

    2. ไถแปร ปรับพื้นที่

    วันที่ 10 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    การใช้บริการผู้นำชุมชนมาช่วยไถแปร ปรับพื้นที่  โดยให้นักการภารโรงช่วยตัดหญ้าก่อน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้พื้นที่ที่เหมาะกับการปลูกพืชผักสวนครัว เป็นการปรับพื้นที่และเตรียมพร้อมก่อนทำแปงเกษตร

     

    100 0

    3. เพาะข้าวโพด

    วันที่ 10 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเมล็ดข้าวโพดมาแช่น้ำ แล้วหยอดลงในกระบะปลูก หลุมละ 1 เม็ด เพื่อให้ได้ต้นกล้าข้าวโพด  ก่อนนำไปลงปลูกในแปลงเพาะปลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ต้นกล้าข้าวโพดที่สมบูรณ์ พร้อมปลูก

     

    9 0

    4. ทำแปลงเกษตร

    วันที่ 11 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ช่วยกันทำแปลงเกษตร  โดยใช้เวลาทำ 2 วัน  ในช่วงกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้  รวมถึงเตรียมดินใส่ปุ๋ยคอกไว้สำหรับการปลูกผักของตนเองและน้อง ๆ
    โดยมีคุณครูประจำชั้นและนักการภารโรงคอยแนะนำช่วยเหลือ (ปุ๋ยคอกสำหรับปลูกพืชบนแปลงเกษตร เตรียมไว้ 12 กระสอบ ใช้ได้ตลอดปี)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แปลงเกษตรเตรียมไว้ให้น้องๆ ประถมศึกษาปีที่ 1-4 ได้ปลูกผัก  รวมถึงทำแปลงไว้สำหรับตนเองปลูกผักด้วย

     

    25 0

    5. ปลูกผักสวนครัว (ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ผักกาด)

    วันที่ 13 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    แบ่งนักเรียนช่วยทำแปลงเกษตรชนิดต่างๆ

    -นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปลูกผักบุ้ง

    -นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปลูกผักกวางตุ้ง

    -นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปลูกผักกาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้แปลงผัก ผักบุ้ง กวางตุ้ง และผักกาด

    2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีส่วนร่วมในการปลูกผักชนิดต่างๆ

    3.มีผักชนิดต่างๆ สามารถส่งต่อโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

     

    40 0

    6. ปลูกผักสวนครัว (ผักคะน้า แตงกวา บวบ)

    วันที่ 13 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แบ่งนักเรียนตามระดับชั้นในการปลูกผักชนิดต่างๆ

    -นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปลูกผักคะน้า

    -นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปลูกบวบ

    -นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปลูกแตงกวา

    2.ครูประจำชั้นช่วยแนะนำ ให้ความรู้การปลูกผัก การดูแล การใส่ปุ๋ยคอก (โดยเตรียมปุ๋ยคอกไว้สำหรับปลูกผักในโครงเหล็กนี้ 8 กระสอบ ใช้ได้ทั้งปี)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแปลงผักที่นักเรียนได้ช่วยกันปลูก ผักคะน้า ข้าวโพด และปลูกบวบ แตงกวา ซึ่งเป็นผักเลื้อยในโรงเรือนโครงเหล็กที่สร้างไว้

     

    32 0

    7. การรดน้ำ ดูแลรักษา พืชผักที่ปลูก

    วันที่ 17 มิถุนายน 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ช่วยกัน รดน้ำ ใส่ปู่ย กำจัดวัชพืช ดูแลพืชผักที่ปลูก ผักบุ้ง ผักกาด แตงกวา และข้าวโพด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.พืชผักที่ปลูกในแปลง ประมาณ 1ไร่ เจริญเติบโตดี
    2.นักเรียนมีความภูมิใจในตนเอง
    3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก

     

    66 0

    8. การเลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และครูช่วยกันซ่อมแซม กำจัดสิ่งปฏิกูลรวมถึงผักตบชวาในพื้นที่บ่อปลา ขนาด 6 x 6 เมตร จำนวน 1บ่อ
    2.จัดซื้อกระชัง  ลูกพันธุ์ปลาดุกสำหรับการเลี้ยงในบ่อ

    3.ครูประจำชั้น ,นักกาภารโรง ให้ความรู้การดูแลปลาดุก การให้อาหารปลา และการเลี้ยงปลาดุกกับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ

    4.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ผลัดเปลี่ยนกันมาให้อาหารปลา ดูแลรักษาปลา โดยมีนักการคอยดูแลความปลอดภัยให้นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีปลาดุกจำนวน 1บ่อ ประมาณ 1,000 ตัว

    2.นักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก

    3.ปลาดุกที่เลี้ยงไว้ สามารถจัดเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียน ใช้ระยะเวลาอย่าง 3-5 เดือน เพื่อให้ปลาดุกมีการเจริญเติบโต

    4.โรงเรียนมีพื้นที่ แหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัย

     

    25 0

    9. เก็บเกี่ยวผลผลิต / ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ุ6 ช่วยกันเก็บผลผลิตจากแปลง เช่น ผักบุ้ง ผักกาด แตงกวา เพื่อนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวัน และส่งให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้กับผู้ปกครอง

    2.แม่ครัวนำผลผลิตจากแปลง มาปรุงเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน 5-10 กิโลกรัม/สัปดาห์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ผลผลิตเป็นพืชผักกินใบ และผักสวนครัว ได้แก่ ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักกาด บวบ แตงกวา และข้าวโพด

    2.นักเรียนได้กินอาหารที่มีความปลอดภัย จากการใช้วัตถุดิบที่ไม่ใช้สารเคมี

    3.โรงเรียนมีวัตถุดิบที่ปลูกเอง ส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน อย่างน้อย 5-10 กิโลกรัม/สัปดาห์

    4.ชนิดผักที่ปลูกมีความหลากหลาย ทำให้นักเรียนได้กินผักเพิ่มขึ้น จากเมนูอาหารกลางวัน

    5.เกิดการต่อยอดโครงการเกษตรฯ

     

    66 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนได้นาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับความรู้และ ปฏิบัติการได้จริง
    50.00 66.00

    สมุดสุขภาพนักเรียน

    2 เพื่อให้นักเรียนมีภาวะ โภชนาการด้านน้ าหนักและ ส่วนสูงตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง ตามเกณฑ์ทุกคน
    4.00

    1.สมุดสุขภาพ

    2.การคัดกรองสุขภาพ

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 87
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    นักเรียน 87

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้นาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ (2) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะ โภชนาการด้านน้ าหนักและ ส่วนสูงตามเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผู้เรียนสุขภาพดีโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนวัดโรง (ขาวประชาสรรค์)(โรงเรียนวัดโรง ขาวประชาสรรค์) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพรรณเพ็ญ พัทบุรี (0892133058) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด