สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางประณีต เหมือนทิพย์ (0812773046)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันเป็นยุคที่ทุกคนต้องมีแต่การแข่งขัน โดยเฉพาะการประกอบอาชีพ คนส่วนใหญ่ต้องทํางานแข่งกับเวลาตามที่หน่วยงานหรือองค์กรกําหนด ซึ่งแตกต่างกับในอดีตอย่างสิ้นเชิงที่ทําอาชีพเกษตรกรรม มีเวลาในการดูแลเอาใจใสคนในครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักเรียนในปกครองที่ต้องได้รับการเอาใจใสในการเตรียมตัวไปโรงเรียนโดยเฉพาะอาหารการกินของนักเรียน โดยผู้ปกครองนักเรียนในปัจจุบัน ไม่มีเวลาเตรียมอาหาร หรือการดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วยต้องสร้างรายได้เพื่อความมั่นคงของครอบครัวดังนั้นผู้ปกครองจึงละเลยการเอาใจใส่นักเรียนโดยเฉพาะเรื่องอาหาร ซึ่งมีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตทางร่างกายและการพัฒนาทางสติปัญญาของนักเรียนผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ประมาณร้อยละ 70ของนักเรียนมีอาชีพรับจ้างกรีดยาง ซึ่งเป็นอาชีพที่ต้องเร่ง รีบทําในตอนเช้า ทําให้ผู้ปกครองไม่ได้เตรียมอาหารเช้าที่มีคุณภาพให้กับนักเรียน นักเรยนร้อยละ70 ของนักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า หรือได้รับอาหารที่ไม่มีคุณภาพจากร้านค้าในหมู่บ้านหรือ อาหารสําเร็จรูปเพียงเพื่อให้อิ่มท้องมาเรียนก่อน ทําให้นักเรียนของโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่มีภาวะโภชนาการต่ํากว่าเกณฑ์ ร้อยละ4.76และวัตถุดิบในการประกอบอาหารส่วนใหญมาจากตลาด ่ เป็นผัก ผลไม้ที่อุดมไปด้วยสารเคมี สารพิษ ส่งผลให้นักเรียนส่วนใหญ่มีปญหาเรื่องสุขภาพร้อยละ 38.10 เป็นนักเรียนที่สุขภาพไม่แข็งแรง มีปัญหาโรคอ้วนเนื่องจากได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน อาหารที่ได้รับไม่มีคุณคา่ หรือมีประโยชน์ต่อการพัฒนาสติปัญญาของนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่เห็นความสําคัญของการจัดอาหารเพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียนจึงได้จัดทําโครงการการเกษตรเพื่ออาหารสําหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองและ นักเรียนเกี่ยวการเลือกจัดอาหารเพื่อการบริโภคแก่นักเรียน
  2. เพื่อสร้างแหล่งอาหารที่มีความปลอดภัยและยั่งยืนสําหรับนักเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียน โรงเรียนบ้านเกาะ ใหญ่ได้รับอาหาร ที่มีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ ผู้ ปกครองและ นักเรียน
  2. เตรียมแปงปลูกผัก
  3. การตรวจสขภาพ ุ การชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง
  4. ตรวจสุภาพ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง นักเรียน
  5. อบรมผู้ปกครองให้ความรู้ในการเลือกซื้ออาหารสุขภาพ
  6. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ถั่ฝักยาว ข้าวโพด และไม้ยืนต้น
  7. ปลูกมะนาวในท่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ผู้ปกครองและนักเรียน 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กมีอาหารที่ปลดภัยรับประทานและผู้ปกครองมีความรู้ในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กรับประทาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารสำหรับนักเรียน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินการ 2.เชิญวิทยากร 3.เชิญผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม 4.ผู้ปกครองและนักเรียนเข้ารับร่วมการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและนักเรียนจำนวน 114  คน ได้รับการประชุมและได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร และการประกอบอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อนักเรียนในการพัฒนาให้นักเรียนมีพัฒนาการที่เหมาะสม

 

150 0

2. เตรียมแปงปลูกผักและไม้ยืนต้น

วันที่ 1 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมดินเพื่อปลูกผักสวนครัว 2.นักเรียนปลูกผักสวนครัว เช่น ถั่วฝักยาว  ผักบุ้งฯลฯ 3. นักเรียนดูแลแปลงผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนจำนวน 85 คนไดปลูกผักที่นักเรียนชอบ และนำผลผลิตมาใช้ในอาหารกลางวัน เช่น ผักบุ่้ง  ถั่วฝักยาว

 

85 0

3. เตรียมแปลงปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ถั่วฝักยาว ข้าวโพด/ปลูกไม้ยืนต้น เช่น สะตอ ส้มแขก ฯลฯ และมะนาวในท่อ

วันที่ 2 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมดินในหลุมปลูกและในท่อ 2.นักเรียนปลูกไม้ยืนต้นและมะนาว 3.นักเรียนดูแลรดน้ำ กำจัดวัชพืช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • การปลูกไม้ยืนต้น เช่น ส้มแขก จำนวน 2 ต้น สะตอ 5 ต้น มะกรูด 2 ต้น ทุเรียนเทศ 2 ต้น มะม่วงหาวมะนาวโห่ 2 ต้น มะนาวในท่อ 12 ต้น และ พริกไทย 10 ต้น (แล้งจัดตายหมดเลยปลูกแก้วมังกรเพิ่ม 10 ต้น) ชะอม 10 ต้น ไม้ยืนต้นยังไม่สามารถเกบเกี่ยวผลผลิตได้

  • การปลูกผักสวนครัว

  • ผลผลิตที่ได้

  • ปลูกผักบุ้ง 10 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 50 กิโลกรัม
  • ปลูกถั่วฝักยาว 5 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 40 กิโลกรัม
  • ปลูกข้าวโพด 20 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 20 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 150 กิโลกรัม

 

85 0

4. ตรวจสุภาพ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง นักเรียน

วันที่ 2 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ครูประจำชั้น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีนำนักต่ำกว่าเกณฑ์ 1  คน

 

72 0

5. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารสำหรับนักเรียน

วันที่ 31 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินการ 2.เชิญวิทยากร 3.เชิญผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม 4.ผู้ปกครองและนักเรียนเข้ารับร่วมการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและนักเรียนจำนวน 114  คน ได้รับการประชุมและได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร และการประกอบอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อนักเรียนในการพัฒนาให้นักเรียนมีพัฒนาการที่เหมาะสม

 

150 0

6. อบรมการบันทึกข้อมูลในระบบโครงการเกษตรในโรงเรียน

วันที่ 31 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการบันทึกข้อมูลในระบบโครงการเกษตรในโรงเรียน ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูมีความรู้ในการบันทึกข้อมูลในระบบได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

7. ตรวจสุภาพ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง นักเรียน

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.แจ้งครูประจำชั้นรับผิดชอบการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียนจำนวน 87 คนเดือนละ 1 ครั้ง 2.ส่งข้อมูลให้ครูรับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนดำเนินการตรวจสอบข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สรุปรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนจำนวน 87 คนได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง มีนักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงจากเดิม 5 คน เหลือ 2 คน

 

0 0

8. อบรมผู้ปกครองให้ความรู้ในการเลือกซื้ออาหารสุขภาพ

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะครูที่รับผิดชอบการอบรมผู้ปกครอง 2.ประสานจนท สาธารณสุขให้ความรู้ 3.แจ้งผู้ปกครองเข้าร่วมอบรมความรู้ในการเลือกซื้ออาหารสุขภาพ(เวลา 14.00 - 15.30 น.)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและนักเรียนร่วมประชุมจำนวน 114  คน โดยเป็นการประชุมร่วมในการประชุมผู้ปกครองประจำปี ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์แก่นักเรียนและผู้ปกครอง ความสำคัญของอาหารเช้า นักเรียนรและผู้ปกคครอง เกิดความรู้และเห็นคุณค่าของการจัดอาหารเช้าและการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ปกครองทั้งหมด

 

0 0

9. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ถั่ฝักยาว ข้าวโพด และไม้ยืนต้น

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมดิน ไถพรวน ผสมดิน
2.เพาะเมล็ดในถาดเพาะ 3.เตรียมหลุมและปลูกไม้ยืนต้น 4.ปลูกผักบุ้ง ถั่วฝักยาว ข้าวโพด  ระน้ำ  พรวนดิน กำจัดวัชพืช 5.เก็บผลผลิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นำผักบุ้งมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ครั้งละ 5 กิโล ครั้งครั้งละ 2 กิโลกรัม ประมาณ 1 เดือนกรัม / 1 สัปดาห์ (ระยะเวลา ประมาณ 1 เดือน)ที่เหลือจำหน่ยให้ผู้ปกครองและครู ประมาณ 20 กิโลกรัม 2.นำถั่วฝักยาวมาใช้ในโครงการอาหรกลางวันสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ที่เหลือจำหน่ายให้ครูและผู้ปกครองได้เงินประมาณ 150 บาท 3.นำผลผลิตจากข้าวโพดมาทำอาหารกลางวันครั้งละ 10 กิโลกรัม/1สัปดาห์ ที่เหลือจำหน่ายให้ครู ผู้ปกครอง ได้เงินสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน ประมาณ 1200  บาท 4.ปลูกไม้ยืนต้น เช่น สะตอ 5 ต้น ส้มแขก 2 ต้น มะม่วงหาวมะนาวโห่ 2 ต้น ทุเรียนเทศ 2 ต้น ชะอม 10 ต้น ส่วนพริกไทยตายหมดเนื่องจากแล้งจัด จึงปลูกแก้วมังกร 10 ต้น

 

0 0

10. ปลูกมะนาวในท่อ

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมดินในท่อ

2.ปลูกมะนาว ดูแลรดน้ำ กำจัดวัชพืช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มะนาวในท่อจำนวน 10 ต้น ยังไม่ได้รับผลผลิต

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองและ นักเรียนเกี่ยวการเลือกจัดอาหารเพื่อการบริโภคแก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและนักเรียนเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ
100.00 76.00

จากพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมอบรมให้ความสนใจในการบรรยาย

2 เพื่อสร้างแหล่งอาหารที่มีความปลอดภัยและยั่งยืนสําหรับนักเรียน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีผัก ผลไม้ที่มีคุณภาพปลอดภัยเพื่อประกอบอาหารให้นักเรียน
100.00 60.00

จากผลผลิตที่ได้จากการทำกิจกรรม ผักที่ปลูกได้รับผลผลิตเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและไม้ผลยังไม่ได้ผลผลิต

3 เพื่อให้นักเรียน โรงเรียนบ้านเกาะ ใหญ่ได้รับอาหาร ที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ จํานวน 85คนมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
100.00 98.61

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 114
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้ปกครองและนักเรียน 150 114

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองและ นักเรียนเกี่ยวการเลือกจัดอาหารเพื่อการบริโภคแก่นักเรียน (2) เพื่อสร้างแหล่งอาหารที่มีความปลอดภัยและยั่งยืนสําหรับนักเรียน (3) เพื่อให้นักเรียน โรงเรียนบ้านเกาะ ใหญ่ได้รับอาหาร ที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ ผู้ ปกครองและ นักเรียน (2) เตรียมแปงปลูกผัก (3) การตรวจสขภาพ ุ การชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง (4) ตรวจสุภาพ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง นักเรียน (5) อบรมผู้ปกครองให้ความรู้ในการเลือกซื้ออาหารสุขภาพ (6) กิจกรรมปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ถั่ฝักยาว ข้าวโพด และไม้ยืนต้น (7) ปลูกมะนาวในท่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประณีต เหมือนทิพย์ (0812773046) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด