สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ดร.เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-029

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2559 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 400,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนายุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์
  2. พัฒนาฐานข้อมูลข้าวจังหวัดพัทลุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะกรรมการแผนแม่บทข้าว

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะอนุกรรมการทั้ง 2 ทีม เสนอแผนงานย่อย

     

    10 4

    2. ประชุมคณะทำงานเตรียมวางแผนกาขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์

    วันที่ 18 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้หัวข้อในการจัดเวที

    1. การวิจัยพัฒนา
    2. การบริหารดินและน้ำ
    3. การจัดการมาตรฐานเกษตร
    4. การสร้างมูลค่าเพิ่มและการจัดการตลาด
    5. การรวมกลุ่ม
    6. การพัฒนายกระดับแหล่งเรียนรู้
    7. การพัฒนานโยบายท้องถิ่น โดยแบ่งเป็น 3 โซน เหนือ กลาง ใต้ เวทีประมาณ 50-70 คน โดยมีผู้เกี่ยวข้องในหลายส่วน ทั้งชาวนา เจ้าของกิจการ วิสาหกิจ กลุ่มธุรกิจ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง

     

    20 12

    3. ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมเวทีรับฟังความคิดเห็นระดับอำเภอ

    วันที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

    • ฝ่ายเวทีและกิจกรรม รับผิดชอบโดย คุณจิ้มและคุณเสณี
    • ฝ่ายข้อมูล รับผิดชอบโดยคุณนัท
    • ฝ่ายลงทะเบียนและหนังสือเชิญรับผิดชอบโดย คุณจอย
    • ฝ่ายบันทึกข้อมูลและภาพ รับผิดชอบโดยเจ้าหน้าที่สภาเกษตร
    • ฝ่ายต้อนรับ รับผิดชอบโดยคุณสุทธิชัย ผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวความเป็นมาของโครงการและกล่าวรายงานต่อประธาน

     

    10 7

    4. จัดทำ Mapping สถานการณ์ข้าวเคมี และข้าวอินทรีย์

    วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เรียนรู้การบูรณาการเพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและความปลอดภัย
    • ความต้องการของผูู้ให้ทุน (สจรส.) คือต้องการข้อมูลเพื่อนำไปผลักดันเป็นยุทธศาสตร์
    • เรียนรู้หลักการจัดการงบประะมาณของ สจรส.

     

    20 6

    5. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนกลาง

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    50 0

    6. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    10 5

    7. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนเหนือ

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    50 0

    8. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปเวทีโซนเหนือ

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 5

    9. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนใต้

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนและแจกเอกสารประกอบผู้เข้าร่วมได้ศึกษา
    2. ดำเนินรายการชี้แจ้งที่มาโดย นายเสณี จ่าวิสูตร ได้เล่าถึงวัตถุประสงค์ของเวที ว่าต้องการให้ผู้เข้าร่วมได้มีส่วนร่วมในการออกแบบยุทธศาสตร์การทำนาอินทรีย์ของคนพัทลุงเพื่อเข้ากำหนดเป็นยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบและผลักดันให้เกิดการทำนาอินทรีย์ และให้ผู้เข้าร่วมได้แนะนำตนเอง
    3. เวทีเปิดเมื่อเวลา 9.30 น. โดย รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง นายอนุรัฐ ไทยตรง ทบทวนวิสัยทัศน์จังหวัดพัทลุง เกษตรยั่งยืนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และคุณภาพชีวิตที่ดีสถานการณ์พัทลุงนั้นพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรยั่งยืนยังน้อยอยู่ภาคส่วนต่างขับเคลื่อนอย่างไรให้มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ส่วนของผู้บริโภคมีกระแสของการดูแลสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม บริโภคผลผลิตจากระบบเกษตรอินทรีย์การขับเคลื่อนตั้งแต่ต้นน้ำกลางน้ำ ปลายน้ำเพื่อให้ชาวนามีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดของไทยหลายจังหวัดเขาเคลื่อนมาก อย่างยโสฯก็เคลื่อนมาให้เป็น 100000 ไร่ ที่จังหวัดอื่นเขาก็ขับมากเพราะคนอยากกินข้าวอินทรีย์ ตอนผมอยู่ที่หนองคาย ฝรั่งเขาเข้ามาถามผมว่าอยากกินข้าวอินทรีย์ กินผักปลอดภัยจะหาซื้อได้ที่ไหน ก็แนะนะว่าโรงพยาบาลอำเภอน่าจะมี หรือไปหาแถวร้านดอยคำ ฝรั่งเขากลัวมากเรื่องเคมี เขาบอกว่าคนไทยไม่น่าใส่ปุ๋ยสารเคมีมากขนาดนี้ บ้านเขาใช้น้อยมาก
    4. นายเทพรัตน์ จันทพันธุ์ ผอ.วิทยาลัยภูมิปัญญา ได้นำเสนอให้ผู้เข้าร่วมเห็นความสำคัญที่ต้องผลักดันการการนาอินทรีย์ ว่ามีความสำคัญในหลายด้าน และแนวโน้มของตลาดจะมีกว้างขึ้น รวมทั้งเสนอให้เห็นถึงการเคลื่อนงานของวิทยาลัยภูมิปัญญาที่ได้ทำงานกับหลายภาคส่วนเพื่อที่จะผลักดันในเรื่องนี้ ภาพรวมข้าวอินทรีย์มี 2 ส่วนที่ต้องร่วมกัน คือ 1) หน่วยงานซึ่งที่ผ่านมาก็มีท่านรองผู้ว่ามาเป็นหลัก มาร่วมทุกเวที มีหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก็คือเกษตรจังหวัด เกษตรสหกรณ์จังหวัด เป็นต้น 2) ภาคเอกชน ต้องมาช่วยกันคิดในเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ ต้องคิด start up คือให้มองว่าตัวเล็กๆ สามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้
    5. หัวหน้าสนง.เกษตรสหกรณ์จังหวัดพัทลุงได้มาเสนอสิ่งที่หน่วยงานกำลังวางแผนและดำเนินการ บอกว่าในปัจจุบันกำลังทำชวนเข้าร่วมงานตลาดปลอดสารพิษ วันที่ 25 กรกฎาคม2559ณ บนถนนหน้าสำนักงานเกษตร
    6. ช่วงต่อมาเป็นการแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อยเพื่อร่วมเสนอวิธีการหาแนวร่วมในการเพิ่มพื้นที่และผลผลิต โดย
      • ทำอย่างไรที่จะชวนคนที่ยังไม่คิดยังไม่เริ่มมาร่วม
      • ทำอย่างไรให้กลุ่มคนที่ทำอยู่แล้วทำมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
    7. วงใหญ่ นำเสนอผลการแลกเปลี่ยนกลุ่มย่อยและแลกเปลี่ยนเพิ่มเติม สรุปการประชุม ปิด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แบ่งกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม เพื่อร่วมเสนอ วิธีการหาแนวร่วมในการเพิ่มพื้นที่และผลผลิต 1. ทำอย่างไรที่จะชวนคนที่ยังไม่คิดยังไม่เริ่มมาร่วม 2. ทำอย่างไรให้กลุ่มคนที่ทำอยู่แล้วทำมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

     

    50 0

    10. ประชุมเตรียมงานรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเด็นการสร้างพื้นที่นาแปลงใหญ่

    • ให้เป็นเกษตรที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน 1,000 ไร่(ในปีแรก) เพิ่มขึ้นประมาณ 20 %จากของเดิม
    • การทำนาแบบปลอดภัยหรือปรับเปลื่ยน (GAP) 3,000 ไร่
    • เงื่อนไขสนับสนุน 2,000 บาทต่อไร่
    • กลไกการสนับสนุนปัจเจก

    ประเด็นการสร้างการเรียนรู้

    • แหล่งเรียนรู้ ตามระบบนิเวศน์ กับการจัดการที่ดี (Model กลุ่มและปัจเจก)
    • โรงเรียนชาวนา 11 โรงทั่วจังหวัด เป็นชาวนารุ่นใหม่
    • ปราชญ์ชาวนา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประเด็นกลไกการทำงาน
      • ให้มีตัวแทนชาวนาเกษตรอินทรีย์อยู่ในคณะกรรมการร่วมภาครัฐเอกชน (ตัวแทน กรอ.)
    2. งานรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
    3. โมเดลกองทุน (สร้างแรงจูงใจ) ที่มา (เงินมาจากไหน)
      • ลงขันร่วมกันระหว่าง 4 เส้า รัฐ เอกชน ท้องถิ่น ชุมชน(หารือว่ารูปแบบควรเป็นอย่างไร)
      • ภาษีรังนก 30% โดยเสนอเป็นการใช้กองทุนสิ่งแวดล้อม เพราะการทำนาอินทรีย์ เป็นการดูแลสิ่งแวดล้อม นกมีอาหารกิน
      • สปสช. ระดับตำบล (กำหนดแผนเพื่อเสนอให้ผู้ที่จะทำนาเกษตรอินทรีย์ได้ใช้เงินก้อนนี้)
    4. งานวิจัยการตลาด แปรรูป
    5. ให้มี กรรมการข้าวระดับจังหวัดที่ดูภาพรวมการจัดการข้าวระดับจังหวัด ทั้งในเรื่องการผลิต การตลาด งานวิจัย การตรวจสอบมาตรฐาน ติดตามประเมินผลโครงการต่างๆ และเชื่อมโยงคณะกรรมการ กรอ. และคณะกรรมการข้าวระดับชาติ
    6. เสนอให้หน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัดที่มีบทบาทในการทำงานวิจัย เช่น สวพ. ศูนย์วิจัยและพัฒนาเขต 8 ศูนย์วิจัยข้าว ม.ทักษิณ วิทยาลัยเกษตร วิทยาลัยการอาชีพ ทำยุทธศาสตร์หรือแผนส่งเสริมการวิจัยข้าวอินทรีย์ครบวงจร

     

    50 60

    11. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    12. ประชุมคณะทำงานทำแผนยุทธศาสตร์

    วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แผนยุทธศาตร์

     

    20 5

    13. ประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนโครงการเสนอยุทธศาสตร์ จ.พัทลุง

    วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 10

    14. ประชุมเสนอโครงการเข้าแผนยุทธศาสตร์เกษตรของ จ.พัทลุง

    วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์พัทลุงและเสนอแผนนาอินทรีย์ให้เป็นแผนงบประมาณ ปี 2561-2564 

     

    20 4

    15. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลา 9:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหรกรรมค่อเนื่องจากการเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น 

     

    5 2

    16. นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุม ทีมเศรษฐกิจและสังคม

    วันที่ 16 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุมทีมเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด

     

    5 3

    17. ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการปรับกิจกรรมเพื่อทำแผนยุทธศาสตร์

    วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์ 1 ชี้แจงเรื่องการปรับแผนงานโครงการ จัดกลุ่มกิจกรรมด้านเกษตรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการเสนอเพิ่มเติมในส่วนของแผนงานที่ขาด 

     

    5 3

    18. ประชุมคณะทำงานรวบรวมข้อมูลจัดทำ Project brief

    วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมข้อมูลจากคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการย่อย 8 โครงการ

    1. โครงการสนับสนุนและการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์
    2. จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ผ่านมาตรฐานรับรองให้ใช้ในแปลงเกษตรอินทรีย์ 4,000 ตัน
    3. ปรับปรุงพื้นที่นาให้เหมาะสมเพื่อทำนาอินทรีย์
    4. โครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อเกษตรกรรายย่อย 2,000 บาท ต่อไร่
    5. จัดซื้อเครื่องบรรจุภัณฑ์ เครื่องซีลสูญญากาศ เครื่องมือแปรรูปผลิตภัณฑ์
    6. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาหลักสูตรและเชื่อมโยงสู่โรงเรียนเกษตร
    7. จัดทำศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงครบวงจร (อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ข้าวและชาวนาพัทลุง)
    8. โครงการวันข้าวและชาวนาพัทลุง 24 กันยายนของทุกปี

     

    20 8

    19. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำโครงการย่อยต่อ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการย่อย 8 โครงการ

    1. โครงการสนับสนุนและการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์
    2. จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ผ่านมาตรฐานรับรองให้ใช้ในแปลงเกษตรอินทรีย์ 4,000 ตัน
    3. ปรับปรุงพื้นที่นาให้เหมาะสมเพื่อทำนาอินทรีย์
    4. โครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อเกษตรกรรายย่อย 2,000 บาท ต่อไร่
    5. จัดซื้อเครื่องบรรจุภัณฑ์ เครื่องซีลสูญญากาศ เครื่องมือแปรรูปผลิตภัณฑ์
    6. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาหลักสูตรและเชื่อมโยงสู่โรงเรียนเกษตร
    7. จัดทำศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงครบวงจร (อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ข้าวและชาวนาพัทลุง)
    8. โครงการวันข้าวและชาวนาพัทลุง 24 กันยายนของทุกปี

     

    10 2

    20. การประชุมโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และ การเตรียมงานสร้างสุขกับทาง สจรส.

    วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ท่านประธานแจ้งเรื่อง คำสั่งคณะกรรมการจัดทำแผ่นแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงให้ทาง สจรส. ทราบ ซึ่งลงรายละเอียดว่ามีทั้งหมด 3 ชุด คณะทำงาน ได้แก่

    - ชุดคณะอนุกรรมการจัดทำฐานข้อมูลการผลิตข้าวอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุง - ชุดคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ - ชุดคณะกรรมการอนุกรมขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง 2. เรียนแจ้งถึงความเป็นมาที่จัดตั้งขึ้นร่วมไปถึงการทำงานก่อนจะมี      ทีม สจรส. เข้ามาให้ความร่วมมือ และได้แนะนำคณะกรรมการชุดเล็กให้กับ      ทีม สจรส. ทราบโดยในที่ประชุมยังให้เกียรติเรียนเชิญ ท่านผู้ใหญ่ นัด อ่อนแก้ว เป็นที่ปรึกษาของทีมอีกหนึ่งท่าน โดยมีรายชื่อดังนี้
    กรรมการในโครงการวิจัยโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ร่วมกับ สจรส. คณะที่ปรึกษา 1. นายเทพรัตน์ จันทพันธ์    ประธานที่ปรึกษา 2. นายเทอด นมรักษ์          ที่ปรึกษา 3. นายสมคิด สงเนียม          ที่ปรึกษา 4. นายสำเริง แซ่ตัน            ที่ปรึกษา 5. นาย นัด อ่อนแก้ว          ที่ปรึกษา คณะทำงาน 1. ดร. เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์              ประธานคณะทำงาน 2. นาย เสณี จ่าวิสูตร                  กรรมการ 3. นางสาว เบญจวรรณ บัวขวัญ      กรรมการ 4. นาย สุทธิชัย กาฬสุวรรณ          กรรมการ 5. นาย อำมร สุขวิน                    กรรมการ 6. นายอำนาจ เกตุขาว                กรรมการ 7. นางสาว ธิดา คงอาษา              กรรมการ 8. นางสาว เบญจวรรณ เพ็งหนู      กรรมการ 9. นางสาว จุฑาธิป ชูสง              กรรมการ 10. นาง นทกาญจน์ อัพภาสกิจ        เลขานุการ 11. นางสาว สุจิวรรณ พวงพริก        ผู้ช่วยเลขานุการ 3. ท่านประธานเรียนแจ้งแผนการประชุมประจำเดือนทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน จนสิ้นสุดโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2560

     

    25 0

    21. จัดนิทรรศการงานสร้างสุข ธีม การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร

    วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    0 0

    22. ประชุมคณะทำงานระดมความเห็นทำ Project idea

    วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แบบสรุปโครงการแบบย่อ 2 ยุทธศาสตร์

    1. การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น กลยุทธ์ แผงานสร้างเมืองลุงให้เป็นเมืองเศรษฐกิจทางการเกษตร โดยแบ่งเป็น 2 โครงการ
      • โครงการยกระดับภูมิปัญญาชาวนาสู้โรงเรียนเกษตรกรอินทรีย์
      • โครงการพัฒนาผลิตข้าวอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง
    2. พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พร้อมดำเนินโครงการทันที กลยุทธ์ พัฒนาข้าวพื้นเมืองปลอดภัยและได้มาตรฐาน (GAP) และอินทรีย์
      • มหกรรมวันข้าวและชาวนาพัทลุง (24 กันยายนของทุกปี )

     

    10 0

    23. ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการเสนอจังหวัด

     

    20 13

    24. ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด

    วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 0

    25. ระดมความเห็นเสนอโครงการจังหวัด

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 0

    26. ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 12 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานประชุมเพื่อแบ่งหน้าที่โดยมีหน้าที่ดังนี้
    1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที 4. หน้าที่เตรียมข้าว 40 สายพันธุ์
    5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์
    7. หน้าที่เตรียมและเฝ้านิทรรศการ 8. หน้าที่การเพาะข้าว 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ท่านประธาน (คุณสุทธิชัย) ชี้แจงรายละเอียดเรื่องธีมที่ใช้ในการจัดนิทรรศการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ในหัวข้อ "ความมั่นคงทางด้านอาหาร : การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร" ชี้แจงกำนดการงานเสวนาในห้องย่อย "ความมั่นคงทางด้านอาหาร : แกะรอยข้าวใต้ ใครทำ ใครกิน" และแจ้งในที่ประชุมเรื่องจำนวนผู้เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้โดยต้องส่งชื่อ ที่อยู่ เลขบัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์ และอาหาร ภายในวันที่ 15 กันยายน 2559 รวมทั้งรายละเอียดการเดินทาง การเบิกจ่ายและที่พักสำหรับผู้ที่จัดนิทรรศการ ท่านประธานได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง รับผิดชอบโดย คุณสุทธิชัย 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า รับผิดชอบโดยคุณสุทัศน์ 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที รับผิดชอบโดย คุณผาณิต 4. หน้าที่ติดต่อและเตรียมข้าว 40 สายพันธุ์ รับผิดชอบโดย อ.ดร.เชิดศักดิ์
    5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร รับผิดชอบโดยคุณผานิต 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์ รับผิดชอบโดย อ.ดร.เชิดศักดิ์
    7. หน้าที่จัดและเฝ้านิทรรศการ คณะทำงาน 8. หน้าที่การเพาะข้าว รับผิดชอบโดย คุณผานิต 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา รับผิดชอบโดย อ.เทพรัตน์

     

    20 14

    27. ประสานงาน สจรส.

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    28. ประสานงาน สจรส.

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ส่งรายงานการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สจรส. ตรวจรายงานความก้าวหน้าและเอกสารการเงิน

     

    1 1

    29. Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน

    วันที่ 14 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามข้อมูลเกษตรกรโดยเล่าความเป็นมาของโครงการและการลงพื้นที่เก็บข้อมูลครั้งนี้ โดยสอบถามข้อมูลเบื้องต้น ผู้เป็นเจ้าของโรงสีข้าว ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดของโรงสี เก็บพิกัด GPS

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเก็บข้อมูลโรงสี พบว่าในตำบลพนางตุง ทะเลน้อย ปันแต โตนดด้วน พนมวังก์ มะกอกเหนือ และควนขนุน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 34 โรงสี ซึ่งโรงสีส่วนใหญ่จะเป็นโรงสีข้าวที่ใช้ในการในแบบครัวเรือนจะมีชาวบ้านนำข้าวมาสีบ้างเป็นครั้งคราว โดยจะมีการเก็บค่าบริการสีข้าวกระสอบละ 10-20 บาท ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่จะทำนาปี ซึ่งมีข้าวสังข์หยด ข้าวเล็บนกเป็นหลักและจะมีข้าวชนิดอื่นๆ เช่นข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวหอมราชินี ข้าวหอมประทุม เป็นต้น

     

    30 34

    30. Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน

    วันที่ 15 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสี เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS ในอำเภอศรีบรรพต ศรีนครินทร์และอำเภอเมือง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงเก็บข้อมูลในอำเภอศรีบรรพต ศรีนครินทร์และอำเภอเมือง อำเภอศรีบรรพตซึ่งได้เก็บข้อมูลในตำบลเขาย่า เขาปู่และตะแพน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 9 โรงสี อำเภอศรีนครินทร์เก็บข้อมูลในตำบลชุมพล บ้านนา ลำสินธุ์ มีโรงสีข้าวทั้งหมด 5 โรงสี
    อำเภอเมืองเก็บข้อมูลในนาขยาด แพรกหา ดอนทราย มีโรงสีข้าวทั้งหมด 16 โรงสี

     

    20 30

    31. Mapping โรงสีข้าว อำเภอศรีนครินทร์

    วันที่ 21 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสี เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS ในอำเภอศรีนครินทร์และอำเภอเมือง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอศรีนครินทร์และอำเภอเมือง อำเภอศรีนครินทร์ลงเก็บข้อมูลในตำบลชุมพล อ่างทองพบว่ามีโรงสีข้าวทั้งหมด 9 โรงสี
    อำเภอเมืองลงเก็บข้อมูลในตำบลนาท่อม ท่ามิหรำ พบว่ามีโรงสีข้าว 6 โรงสี

     

    20 15

    32. Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม

    วันที่ 22 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสี เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS ในอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จาการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม
    อำเภอเมืองลงเก็บข้อมูลในตำบลโคกชะงาย เขาเจียก ควนมะพร้าว มีโรงสีข้าวทั้งหมด 15 โรงสี อำเภอป่าพะยอมเก็บข้อมูลในตำบลบ้านพร้าว บ้านพร้าว ป่าพะยอม มีโรงสีข้าวทั้งหมด 10 โรงสี

     

    20 25

    33. Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง

    วันที่ 28 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสีข้าว เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และพิกัด GPS ในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน พบว่าอำเภอเมือง เก็บข้อมูลในตำบลลำปำ ตำบลควนมะพร้าว ตำบลตำนาน ตำบลท่าแค ตำบลท่ามิหรำ ตำบลนาโหนด มีโรงสีทั้งหมด 19 โรงสี อำเภอเขาชัยสน เก็บข้อมูลในตำบลเขาชัยสน ตำบลควนขนุน และตำบลจองถนน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 17 โรงสี

     

    20 36

    34. Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง

    วันที่ 29 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน
    อำเภอเมืองเก็บข้อมูลในตำบลนาโหนด ร่มเมือง ปรางหมู่ ชัยบุรี ทั้งหมด 22 โรงสี
    อำเภอเขาชัยสนเก็บข้อมูลในตำบลเขาชัยสน ตำบลโคกม่วง ตำบลควนขนุน 20 โรงสี

     

    20 42

    35. Mapping โรงสีข้าวอำเภอบางแก้ว

    วันที่ 30 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอบางแก้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอบางแก้ว สำรวจข้อมูลในตำบลนาปะขอ ตำบลท่ามะเดื่อ ตำบลโคกสัก มีโรงสีทั้งหมด 9 โรงสีข้าว

     

    20 9

    36. Mapping โรงสีข้าวอำเภอปากพะยูน

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอปากพะยูน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลโรงสีข้าวในอำเภอปากพะยูน ได้ลงสำรวจข้อมูลในตำบลดอนประดู่และดอนทราย มีโรงสีทั้งหมด 16 โรงสี

     

    20 16

    37. Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอเขาชัยสน

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอเมือง อำเภอกงหรา และอำเภอเขาชัยสน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมือง อำเภอกงหรา อำเภอเขาชัยสน อำเภอเมืองเก็บข้อมูลในตำบลพญาขัน ตำบลชัยบุรี มีโรงสีข้าวทั้งหมด 3 โรงสี อำเภอกงหราเก็บข้อมูลในตำบลกงหรา ตำบลชะรัด ตำบลสมหวัง ตำบลคลองเฉลิม มีโรงสีข้าวทั้งหมด 10 โรงสี อำเภอเขาชัยสนเก็บข้อมูลในตำบลเขาชัยสนและตำบลเขาชัยสน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 14 โรงสี

     

    20 27

    38. Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอกงหราและตะโหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด อำเภอกงหราลงสำรวจคลองทรายขาวมีโรงสีข้าว 4 โรง
    อำเภอตะโหมดลงสำรวจตำบลแม่ขรีมีโรงสีข้าว 1 โรง

     

    20 5

    39. Mapping โรงสีข้าว ป่าบอน

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโดยสอบถามข้อมูลชื่อเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอปากพะยูนและอำเภอป่าบอน อำเภอปากพะยูนพบว่าตำบลหารเทามีโรงสี 4 โรงสี อำเภอป่าบอน ตำบลโคกทรายมีโรงสี 12 โรงสี

     

    20 16

    40. Mapping โรงสีข้าว อำเภอตะโหมด

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลชื่อเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวันและเก็บพิกัด GPS

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอตะโหมด พบว่าตำบลตะโหมดและตำบลคลองใหญ่มีโรงสีข้าวทั้งหมด 8 โรงสี และอำเภอป่าบอน ในตำบลโคกทราย ทุ่งนารี่ ป่าบอนและวังใหม่ มีโรงสีข้าว 18 โรงสี

     

    20 26

    41. Mapping การตลาดอำเภอควนขนุนและอำเภอเมือง

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
    พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
    1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
    1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
    4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

     

    20 0

    42. Mapping การตลาดป่าพะยอม ศรีบรรพต ศรีนครินทร์

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
    พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
    1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
    1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
    4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

     

    20 0

    43. Mapping การตลาดอำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสน

    วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
    พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
    1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
    1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
    4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

     

    20 0

    44. Mapping การตลาดอำเภอตะโหมด อำเภอกงหรา

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
    พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
    1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
    1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
    4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

     

    20 0

    45. Mapping การตลาด อำเภอป่าบอน ปากพะยูน

    วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
    พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
    1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
    1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
    4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

     

    20 0

    46. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงชีแจ้งในที่ประชุมว่าขณะนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงนาแปลงใหญ่ เหลือแค่ 300 ไร่ สมาชิก 30 คน ซึ่งพัทลุงสามารถทำนาแปลงใหญ่ได้ง่ายขึ้น

    การจำหน่ายข้าวอินทรีย์โดยส่วนใหญ่เกษตรจะจำหน่ายที่กลุ่ม แต่มีจุดด้อยคือไม่สมมารถจัดส่งเป็นปริมาณมากเลยได้ มีการเสนอให้หาแนวทางที่จะสามารถส่งผลผลิตเป็นปริมาณมาก ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

     

    20 11

    47. สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    • ร่วมกันเก็บข้าว
    • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
    • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
    • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
    • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
    • ทำให้ผู้ว่าฯ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง

     

    60 80

    48. สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    • ร่วมกันเก็บข้าว
    • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
    • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
    • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
    • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
    • ทำให้ผู้ว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง

     

    60 80

    49. สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    • ร่วมกันเก็บข้าว
    • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
    • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
    • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
    • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
    • ทำให้ผู้ว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง

     

    60 80

    50. สร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)

    วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงการสมัคร ข้อบังคับ การตรวจแปลง และกระบวนการทำร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
    • พิจารณาร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมมากขึ้น
    • กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็นทำให้เกิดแนวทางที่จะก่อให้มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนของกลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์ขึ้น
    • ได้ร่างสร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)

     

    20 54

    51. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่นาอินทรย์ ต.พนมวังก์ อ.ควนขนุน

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์ แต่การเปลี่ยนแปลงอาจจะเกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากบริเวณรอบๆข้างทำนาเคมี และด้วยสภาวะแวดล้อมตามปัจจุบัน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล

     

    20 15

    52. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่ อ.กงหรา

    วันที่ 29 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์
    เกษตรกรมีเป้าหมายเรื่องการทำนาอินทรีย์ แต่เนื่องจากมีปัจจัยหลายๆอย่างที่ทำให้ไม่สามารถทำนาอินทรีย์ได้ เช่น ปัญหาเรื่องหญ้า ปัญหาเรื่องหอยเชอรี่ ปัญหาเรื่องมีพื้นที่นาน้อย และบริเวณโดยรอบทำนาเคมี จึงไม่สามารถทำนาอินทรีย์ได้

     

    5 6

    53. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอควนขนุน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรผลิตข้าวโดยการทำนาอินทรีย์ ช่วงแรกๆที่เริ่มทำนาอินทรีย์จะได้ผลผลิตน้อยกว่าการทำนาเคมี แต่เมื่อเริ่มทำต่อเนื่อง ผลผลิตจะได้ปริมาณที่เยอะขึ้น นิเวศเกษตร

     

    20 7

    54. บริหารจัดการข้อมูล

    วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บริหารจัดการข้อมูล

     

    0 0

    55. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอบางแก้ว

    วันที่ 20 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรรวมตัวกันผลิตข้าวอินทรีย์เป็นนาแปลงใหญ่ (300 ไร่) มีทั้งหมดสมาชิก 46 คน เกษตรกรอยากให้มีโครงการพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ซึ่งอยากจะได้ข้าวพันธุ์ไข่มดริ้น ที่เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอำเภอบางแก้ว
    - มีปัญหาราคาข้าวตกต่ำ เนื่องจากมีกลุ่มที่ผลิตข้าวอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น บางรายขายข้าวราคาต่ำ ทำให้ราคาข้าวอินทรีย์ต่ำกว่าราคามาตรฐาน

     

    20 6

    56. จัดทำรายงาน Mapping ข้อมูล

    วันที่ 26 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำรายงาน  Mapping ข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงาน  Mapping ข้อมูล

     

    20 0

    57. ประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจ้งเป้าหมายและแนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    • บรรยายเรื่อง " ยุทธศาสตร์จังหวัดในการสนับสนุนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง"
    • นำเสนอแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงและแผนปฎิบัติการข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การปรับเปลี่ยน จากการทำนาเคมีมาเป็นนาอินทรีย์เป็นไปได้ยาก เกษตรกรต้องการพี่เลี้ยงและการสนับสนุน

    มาตรฐาน
    คาดหวังให้หน่วยงานราชการช่วยขับเคลื่อนพื้นที่

    การจัดทำแผนเสนอต่อจังหวัด อุปสรรค - ความพร้อมของพื้นที่ในการทำกิจกรรม - เอกสารแบบแปลน, การขออนุญาต, การทำประชาพิจารณ์, กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

    เพิ่มเติมโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองคุณภาพ พันธุ์ข้าวพื้นเมือง ได้แก่ ข้าวเล็บนก ข้าวเหนียวดำหมอ
    1.โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวอินทรีย์ - การพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นที่ต้นแบบ - การพัฒนาข้าวสังข์หยด การดำต้นเดียว - การอนุรักษ์พันธุ์ การใช้ภูมิปัญญาโดยการเก็บด้วย... ปัญหา เมล็ดพันธุ์ด้อยคุณภาพ ข้อเสนอแนะ การหว่านเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เสนอโครงการพัฒนาแปลงพันธุ์ข้าวอินทรีย์ชุมชน (ศูนย์พันธุ์ข้าวชุมชน)

    กระบวนการคัดเมล็ดพันธุ์
    - ทำแปลงข้าวชุมชนโดยขอการรับรองในการจำหน่าย - แบ่งพื้นที่โซนในการอนุรักษ์พันธุ์ข้าว
    - 4 ปี มีการเปลี่ยนแปลงกลับมาคัดใหม่ - มีการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ข้าวพื้นเมือง

    1. โครงการพัฒนาสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์พันธุ์ข้าวชุมชน เช่น ข้าวเล็บนกที่กงหรา ข้าวเหนียวดำหมอที่เขาอ้อ
    2. โครงการสร้างอัตลักษณ์พันธุ์ข้าวพื้นเมืองเหนียวดำหมอเขาอ้อ
    3. โครงการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศูนย์โคกหนองนาโมเดลเพื่อความมั่นคงทางอาหาร (โครงการนิเวศน์นาข้าว)
    4. งานวิจัยห่วงโซ่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางจากข้าวสังข์หยด
    5. การพัฒนาแหล่งน้ำสำหรับผิวดินเพื่อการทำนาอินทรีย์ในท้องถิ่น
    6. โครงการพัฒนาจุลินทรีย์วัตถุสำหรับนาข้าวอินทรีย์
    7. โครงการศูนย์พัฒนาจุลินทรีย์ท้องถิ่น
    8. โครงการสร้างนักวิจัยชาวนาชุมชน (การพัฒนาทรัพยากรบุคคล)
    9. โครงการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์
    10. โครงการเพิ่มตลาดชุมชนเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
      • การปลอมข้าวอินทรีย์ (คุณภาพข้าวสังข์หยดอินทรีย์ในชุมชน)
      • ตลาดข้าวสังข์หยดคุณภาพ
      • การประกันราคาข้าวอินทรีย์ (ข้าวเปลือก)
      • มีโรงสีข้าวตามโซนในจังหวัดพัทลุง
      • โรงผลิตแป้งข้าวสังข์หยดที่มีคุณภาพที่สุดในจังหวัดพัทลุง (โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์)
      • การจัดตลาดผลผลิตเกษตรอินทรีย์
    11. ส่งเสริมปรับเปลี่ยนการทำสวนยางมาเป็นการทำนาอินทรีย์
    12. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านส่งเสริมองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรทุกด้าน
    13. โครงการสืบทอดทายาทเกษตรกร

     

    50 36

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 พัฒนายุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : การจัดการข้อมูลข้าวพัทลุงโดยการทำ mapping กระบวนการผลักดันเข้าสู่ระดับยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุง

     

    2 พัฒนาฐานข้อมูลข้าวจังหวัดพัทลุง
    ตัวชี้วัด : การสังเคราะห์ข้อมูลและกระบวนการทำงานของโครงการรขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนายุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ (2) พัฒนาฐานข้อมูลข้าวจังหวัดพัทลุง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

    รหัสสัญญา 59-ข-029 ระยะเวลาโครงการ 15 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ใช้เทคโนโลยีโดยใช้เครื่องมือ GPS และภาพถ่ายดาวเทียม ในการเก็บข้อมูลทำ mapping โรงสีข้าว การตลาดข้าวอินทรีย์ และพื้นที่นาแปลงใหญ่

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    การพัฒนาระบบการตลาดข้าวอินทรีย์แบบออนไลน์ โดยใช้เว็บไซค์/แอพริเคชั่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
    1. ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
    2. ร่างมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ และเอกสารร่างมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    เสนอร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และร่างมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เข้าสู่จังหวัด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ข้อมูลงานวิจัยเรื่องข้าว จากสกว.มาช่วยในการพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖

    นำแผนยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนจังหวัดพัทลุงเพื่อดำเนินการพัฒนาข้าวอินทรีย์ ในปี 2561

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เครือข่ายที่กลุ่มเกษตรกรชาวนา

    1. โรงเรียนชาวนา
    2. โรงนาหลานย่าแดง
    3. วิชชาลัยรวงข้าว
    4. กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติ

    กิจกรรมประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง วันที่ 30 มิถุนายน 2560

    ขยายพื้นที่นาข้าวอินทรีย์โดยเครือข่ายเกษตรกรเพื่อต่อยอดปี 2561 ให้เพิ่มมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    นำแผนยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนจังหวัดพัทลุงเพื่อดำเนินการพัฒนาข้าวอินทรีย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    โครงการภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    นำแผนยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนจังหวัดพัทลุงเพื่อดำเนินการพัฒนาข้าวอินทรีย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    สมาคมนิเวศเกษตรอินทรีย์เมืองลุง

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    ประชาสัมพันธ์เพื่อเปิดรับสมาชิกเข้าสู่สมาคมนิเวศเกษตรอินทรีย์เมืองลุง เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำนาอินทรีย์เพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    สมาชิกเกษตรกรรวมกลุ่มเพื่อทำนาอินทรีย์ในเนื้อที่ 300 ไร่ จำนวนสมาชิก 46 คน

    รายงานบนเว็บไซค์ กิจกรรมการแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงสู่การปฎิบิติในพื้นที่อำเภอบางแก้ว

    จัดอบรมให้ความรู้เรื่องปุ๋ยอินทรีย์ และน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้กับนาข้าว 300 ไร่ ให้กับสมาชิก 46 คน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ร่างมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ “ เครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง ”

    เอกสารร่างมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ "เครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง" ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    นำร่างมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เข้าสู่แผนจังหวัด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    1. การจัดการความรู้โดยการแปรรูปสบู่จากข้าวอินทรีย์
    2. การจัดการความรู้โดยการถ่ายทอดความรู้เรื่องการทำนาข้าวให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด

    ประชุมกลุ่ม มีมติโดยกลุ่มวิชชาลัยรวงข้าวและโรงเรียนชาวนา

    นำแผนยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนจังหวัดพัทลุงเพื่อดำเนินการพัฒนาข้าวอินทรีย์ เนื่องจากมีโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว และโครงการทายาทชาวนา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    สามารถสร้างข้อมูลพื้นฐานเรื่องข้าวอินทรีย์ และทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    นำแผนยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนจังหวัดพัทลุงเพื่อดำเนินการพัฒนาข้าวอินทรีย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    เกษตรกรทำนาอินทรีย์เพื่อผลิตข้าวที่ปลอดสารพิษเพื่อให้คนในครอบครัว และผู้บริโภคได้รับประทานข้าวที่ปลอดภัย

    คนในครอบครัวและคนในชุมชนมีสุขภาพดี

    ขยายพื้นที่ทำนาอินทรีย์เพื่อผู้บริโภคมีสุขภาพดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    เกษตรกรปลูกข้าวเพื่อใช้การในการบริโภค

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ ในการประชุมระดมความคิดเห็น ในการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

    ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคนำไปจ่ายในราคาที่เหมาะสม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    แลกเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์เมล็ดข้าว

    ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพ

    สร้างศูนย์แลกเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์เมล็ดข้าวในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ดร.เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด