สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน) ”

ป่าตอง ย่านเมืองเก่า สะพานหิน จังหวัดภูเก็ต

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน)

ที่อยู่ ป่าตอง ย่านเมืองเก่า สะพานหิน จังหวัดภูเก็ต จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 10 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ป่าตอง ย่านเมืองเก่า สะพานหิน จังหวัดภูเก็ต

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน) " ดำเนินการในพื้นที่ ป่าตอง ย่านเมืองเก่า สะพานหิน จังหวัดภูเก็ต รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กุมภาพันธ์ 2565 - 10 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,000,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจสภาพปัจจุบัน พฤติกรรม การใช้งานของพื้นที่ต้นแบบ (เชิงกายภาพและสังคม)
  2. กิจกรรมที่ 2 การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ และประเมินผล สำหรับการจัดทำผังพื้นที่สุขภาวะต้นแบบ
  3. กิจกรรมที่ 3 การจัดประชุมกระบวนการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  4. กิจกรรมที่ 4 การจัดทำผังแนวคิดพื้นที่สุขภาวะต้นแบบ
  5. การประชุมเชิงปฏิบัติการการออกแบบพื้นที่และสร้างร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เเละการสำรวจสภาพพื้นที่ปัจจุบัน
  6. ดำเนินการสำรวจสภาพปัจจุบัน พฤติกรรม เเละการใช้งานของพื้นที่
  7. ประชุมรายงานความก้าวหน้าการสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูล เเละเเนวทางการดำเนินการในการคัดเลือกพื้นที่ออกแบบ
  8. การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ เเละประเมินผล สำหรับการจัดทำผังพื้นที่สุขภาวะต้นเเบบ
  9. ลงพื้นที่สำรวจเเละเข้าสัมภาษณ์หน่วยงานในพื้นที่
  10. การประชุมรายงานความก้าวหน้าผลการวิเคราะห์ข้อมูล การรวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เเละนำเสนอร่างเเนวคิดในการพัฒนา
  11. ลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เเละรังวัดพื้นที่เพื่อทำการออกแบบ
  12. จัดทำรายละเอียดการออกแบบพื้นที่ย่านเมืองเก่าภูเก็ต
  13. จัดทำรายละเอียดการออกแบบพื้นที่สวนสาธารณะสะพานหิน
  14. จัดทำรายละเอียดการออกแบบพื้นที่สาธารณะริมชายหาดป่าตอง
  15. การประชุมรายงานความก้าวหน้ากับคณะทำงานมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  16. ประชุมเพื่อนำเสนอรายละเอียดการออกแบบกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  17. การประชุมรายงานความก้าวหน้ารายละเอียดการออกแบบกิจกรรม Citylab Patongกับเทศบาลเมืองป่าตอง
  18. Workshop ในหัวข้อ ชวนชุมชนออกแบบพื้นที่สุขภาวะให้กับย่านเมืองเก่าภูเก็ต ร่วมกับ 3 ชุมชน
  19. เปิดพื้นที่ทดลอง “แล เล่น รักษ์ เล” เพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะริมชายหาดต้นแบบ ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวันให้กับประชาชน
  20. จัดทำรายละเอียดการออกแบบรูปแบบกิจกรรมในพื้นที่ย่านเมืองเก่าภูเก็ต เเละพื้นที่สวนสาธารณะสะพานหิน
  21. การลงพื้นที่เพื่อเก็บภาพบรรยากาศพื้นที่ทดลอง เเล เล่น รักษ์ เล
  22. ประชุมรายงานความก้าวหน้ากับทีม ม.อ. ภูเก็ต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงพื้นที่สำรวจเเละเข้าสัมภาษณ์หน่วยงานในพื้นที่

วันที่ 27 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่สำรวจเเละเข้าสัมภาษณ์หน่วยงานในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วันที่ 27 มิถุนายน-1 กรกฎาคม 2565 ทีม HSF ลงพื้นที่สำรวจเเละเข้าสัมภาษณ์หน่วยงานในพื้นที่ ได้เเก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต เทศบาลนครภูเก็ต เทศบาลเมืองป่าตอง หอการค้าจังหวัดภูเก็ต สาธารณสุขจังหวัด เเละภาคเอกชนในพื้นที่ ซึ่งการลงพื้นที่ในครั้งนี้จะนำไปสู่เเนวทางการออกแบบพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ พร้อมทั้งการออกแบบรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่สอดคล้องกับเเผนการพัฒนาเมือง เเละความต้องการของชาวภูเก็ต

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

15 0

2. ประชุมเพื่อนำเสนอรายละเอียดการออกแบบกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

วันที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ภูเก็ต เพื่อนำเสนอเเนวคิดเเละรายละเอียดการออกแบบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เมื่อวันที่ 13-16 กันยายนที่ผ่านมา ทางทีม Healthy Space Forum ได้ลงพื้นที่ภูเก็ต เพื่อนำเสนอเเนวคิดเเละรายละเอียดการออกแบบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้เเก่ เทศบาลนครภูเก็ต เทศบาลเมืองป่าตอง พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัว เเละชุมชนในพื้นที่ย่านเมืองเก่าภูเก็ต ซึ่งการลงพื้นที่ในครั้งนี้จะนำไปสู่การพัฒนารายละเอียดการออกแบบ เเละเเนวทางในการจัดกิจกรรมสาธารณะที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดสภาพเเวดล้อมกระฉับกระเฉงหรือเพิ่มกิจกรรมทางกายภายในเมืองภูเก็ต ซึ่งหลังจากนี้ทางทีมจะดำเนินการจัดกระบวนการมีส่วน ร่วมกับทุกภาคส่วนในพื้นที่ เพื่อร่วมกันออกแบบเเละหาคำตอบให้กับเเนวทางการพัฒนาเมืองภูเก็ตสู่การเป็น Healthy City

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

3. Workshop ในหัวข้อ ชวนชุมชนออกแบบพื้นที่สุขภาวะให้กับย่านเมืองเก่าภูเก็ต ร่วมกับ 3 ชุมชน

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

Workshop ในหัวข้อ “ชวนชุมชนออกแบบพื้นที่สุขภาวะให้กับย่านเมืองเก่าภูเก็ต” ร่วมกับ 3 ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เมื่อวันที่ 11-13 พฤศจิกายน Healthy Space Forum ได้เดินทางไปภูเก็ต เพื่อจัดกิจกรรม Workshop ในหัวข้อ “ชวนชุมชนออกแบบพื้นที่สุขภาวะให้กับย่านเมืองเก่าภูเก็ต” ร่วมกับ 3 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต ชุมชนชาร์เตอร์เเบงค์ เเละชุมชนบ่านซ้านจุ้ยตุ่ย โดยเเต่ละชุมชนจะได้มีส่วนร่วมในการออกแบบพื้นที่ในชุมชนของตัวเองด้วย ซึ่งทางโครงการได้เสนอเเนวทางการออกแบบให้กับ 4 พื้นที่ ได้เเก่ ลานสีเขียวบริเวณสี่เเยกชาร์เตอร์ พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัว ตรอกตั่วเเจ้ เเละพื้นที่ตลาดบ่านซ้าน การ Workshop ครั้งนี้ทำให้ทีมได้ลงไปพูดคุย เเลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนในชุมชน ทั้งในด้านกายภาพเเละรูปแบบกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในย่าน ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมสาธารณะ งานเทศกาลประจำปี รวมถึงกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะชวนทุกคนมาเรียนรู้ผ่านชุมชน ซึ่งหลังจากนี้ทางทีมจะเอาสิ่งที่ทุกคนแชร์ไอเดียกันมาพัฒนาแนวทางการออกแบบและรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อให้ภูเก็ตก้าวสู่การเป็น Healthy City สำหรับทุกคน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

4. เปิดพื้นที่ทดลอง “แล เล่น รักษ์ เล” เพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะริมชายหาดต้นแบบ ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวันให้กับประชาชน

วันที่ 16 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สสส. ร่วมกับ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนย์สร้างเสริมสุขภาวะเมือง และเทศบาลเมืองป่าตอง จังหวัดภูเก็ต เปิดพื้นที่ทดลอง “แล เล่น รักษ์ เล” เพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะริมชายหาดต้นแบบ ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวันให้กับประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ร่วมกับ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนย์สร้างเสริมสุขภาวะเมือง (Healthy Space Forum) และเทศบาลเมืองป่าตอง เปิดพื้นที่ทดลอง CityLab Patong “แล เล่น รักษ์ เล” ณ ลานโลมา หาดป่าตอง ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต เพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะริมชายหาดต้นแบบที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ผ่านแนวคิด “CityLab” การทดลองปรับปรุงพื้นที่สาธารณะชั่วคราวในรูปแบบที่ทำง่าย รวดเร็ว และใช้ต้นทุนต่ำ พร้อมติดตามผลตอบรับจากผู้ใช้งาน และสรุปผลเป็นแนวทางการออกแบบพื้นที่ เพื่อส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนและพัฒนาเมืองในระยะยาว ในการส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สุขภาวะใกล้บ้านที่ตอบโจทย์ความต้องการของคนในพื้นที่และนักท่องเที่ยว ให้มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ที่ปรึกษาโครงการ กล่าวว่า “การพัฒนาพื้นที่ แล เล่น รักษ์ เล เป็นหนึ่งในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะริมชายหาดต้นแบบที่ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายอย่างสร้างสรรค์ผ่านพื้นที่เล่น โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน ตลอดจนเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจสำหรับครอบครัว” โดยมีการจัดสรรพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
(1) พื้นที่ “แล” ในภาษาใต้ คือ การมองดู โดยในงานจะมีพื้นที่นิทรรศการจัดแสดงถ่ายทอดความรู้ด้านพื้นที่สาธารณะ กิจกรรมทางกาย และการมีส่วนร่วม        (2) พื้นที่ “เล่น” คือ การเชิญชวนให้มาร่วมกิจกรรมนันทนาการและขยับร่างกายผ่านเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเล่น รวมถึงในบริเวณพื้นที่นิทรรศการที่สามารถปรับเปลี่ยนเป็นสนามเด็กเล่นได้ในภายหลังจบงาน        (3) พื้นที่ “รักษ์ เล” คือ การออกแบบที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยสอดแทรกไปกับกิจกรรมทางกาย การจัดการขยะ ประกอบกับภายในงานยังมีของตกแต่งจากวัสดุเหลือใช้อีกด้วย ด้าน รองศาสตราจารย์ ดร. พนิต ภู่จินดา ผู้อำนวยการศูนย์สร้างเสริมสุขภาวะเมือง กล่าว่า “พื้นที่แล เล่น รักษ์ เล มีแนวคิดในการออกแบบที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม โดยเปิดกว้างให้ทุกคนร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างอิสระ ซึ่งทำให้มีโอกาสในการพบเจอผู้คนใหม่ๆ เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดีภายในเมือง ตลอดจนการช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น และทำให้เมืองเกิดบรรยากาศที่น่าอยู่ยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันการคำนึงถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมก็นับเป็นประเด็นสำคัญที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน จึงให้ความสำคัญต่อการสร้างความตระหนักถึงปัญหาขยะให้กับประชาชนและนักท่องเที่ยว ผ่านการสร้างสรรค์อุปกรณ์ต่าง ๆ จากวัสดุเหลือใช้ การออกแบบพื้นที่ส่งเสริมการแยกขยะเพื่อรวบรวมขยะพลาสติกส่งต่อสู่กระบวนการ Upcycling เป็น Street Furniture ในพื้นที่ชายหาดป่าตองต่อไป”

ขณะที่ นายเฉลิมศักดิ์ มณีศรี นายกเทศมนตรีเมืองป่าตอง กล่าวว่า “การพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวเป็นหนึ่งในนโยบายระดับท้องถิ่น ที่ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสังคมให้กับประชาชนทุกระดับ มีโอกาสเข้าถึงการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสมกับวัย สอดรับกับการพัฒนาให้ภูเก็ตเป็นเมืองสุขภาพดี ทั้งนี้เทศบาลเมืองป่าตอง จึงให้การสนับสนุนโครงการ CityLab Patong เพื่อร่วมส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สาธารณะซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายและการมีสุขภาวะที่ดีเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ CityLab Patong “แล เล่น รักษ์ เล” ได้เปิดพื้นที่กิจกรรมเชิงทดลองเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายอย่างสร้างสรรค์ที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมขึ้นระหว่างวันที่ 16 - 18 ธันวาคม 2565 บริเวณลานโลมา หาดป่าตอง ที่ผ่านมา พร้อมกับเชิญชวนชาวป่าตองและนักท่องเที่ยวมาร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นที่สาธารณะและกิจกรรมที่ตอบโจทย์กับพื้นที่บริบทชายหาดป่าตองอย่างแท้จริง เพื่อมุ่งไปสู่การปรับเปลี่ยนพื้นที่สาธารณะแห่งนี้ให้เป็นพื้นที่สร้างปฏิสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ชุมชน ตลอดจนส่งเสริมการมีกิจกรรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวันของชาวป่าตองและผู้มาเยี่ยมเยียนต่อไป

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

5. ประชุมรายงานความก้าวหน้ากับทีม ม.อ. ภูเก็ต

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมรายงานความก้าวหน้ากับทีม ม.อ.ภูเก็ต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการประชุม 1. สรุปพื้นที่ป่าตอง 2. อัปเดตการออกแบบ 2 พื้นที่ ได้แก่ ย่านเมืองเก่าและสะพานหิน - พื้นที่น้ำท่วมน้ำลดได้ออกแบบให้รองรับกิจกรรม PA ได้ทุกสถานการณ์
- พื้นที่ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
- พื้นที่ย่านอาหาร แหล่งพบปะผู้คน - พื้นที่เชื่อมวัฒนธรรมชุมชน 3. มีแนวทางการทดลองจัดกิจกรรม 3 ทางเลือก 3.1 เส้นทางเดินลัดเลาะรอบเมืองเก่า (Old town park journey) 3.2 วางป้ายเก็บแบบสอบถาม (Interactive panal) 3.3 วางสตรีทเฟอร์นิเจอร์และสังเกตการใช้งาน

แนวทางขับเคลื่อนต่อ : เสนอผลการออกแบบกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อนำไปสุ่การดูแลและใช้ประโยชน์ในการเพิ่มกิจกรรมทางกาย 1. จัดประชุมนำเสนอผลการออกแบบพื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมใน 5 พื้นที่ ได้แก่ คือ 1. ม.อ.ภูเก็ต 2. เขาหลักพังงา 3.ย่านเมืองเก่า 4. ป่าตอง 5. สะพานหิน 2. ทำแผน MOU การดูแลพื้นที่ต่อในอนาคต โดยเชิญผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดกับพื้นที่ เข้ามาร่วมประชุม 3. นัดประชุมเพื่อคือนำเสนอผลการออกแบบในวันศุกร์ที่ 24 มีนาคม 2566

  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 สำรวจสภาพปัจจุบัน พฤติกรรม การใช้งานของพื้นที่ต้นแบบ (เชิงกายภาพและสังคม) (2) กิจกรรมที่ 2 การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ และประเมินผล สำหรับการจัดทำผังพื้นที่สุขภาวะต้นแบบ (3) กิจกรรมที่ 3 การจัดประชุมกระบวนการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4) กิจกรรมที่ 4 การจัดทำผังแนวคิดพื้นที่สุขภาวะต้นแบบ (5) การประชุมเชิงปฏิบัติการการออกแบบพื้นที่และสร้างร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เเละการสำรวจสภาพพื้นที่ปัจจุบัน (6) ดำเนินการสำรวจสภาพปัจจุบัน พฤติกรรม เเละการใช้งานของพื้นที่ (7) ประชุมรายงานความก้าวหน้าการสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูล เเละเเนวทางการดำเนินการในการคัดเลือกพื้นที่ออกแบบ (8) การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ เเละประเมินผล สำหรับการจัดทำผังพื้นที่สุขภาวะต้นเเบบ (9) ลงพื้นที่สำรวจเเละเข้าสัมภาษณ์หน่วยงานในพื้นที่ (10) การประชุมรายงานความก้าวหน้าผลการวิเคราะห์ข้อมูล การรวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เเละนำเสนอร่างเเนวคิดในการพัฒนา (11) ลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เเละรังวัดพื้นที่เพื่อทำการออกแบบ (12) จัดทำรายละเอียดการออกแบบพื้นที่ย่านเมืองเก่าภูเก็ต (13) จัดทำรายละเอียดการออกแบบพื้นที่สวนสาธารณะสะพานหิน (14) จัดทำรายละเอียดการออกแบบพื้นที่สาธารณะริมชายหาดป่าตอง (15) การประชุมรายงานความก้าวหน้ากับคณะทำงานมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (16) ประชุมเพื่อนำเสนอรายละเอียดการออกแบบกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (17) การประชุมรายงานความก้าวหน้ารายละเอียดการออกแบบกิจกรรม Citylab Patongกับเทศบาลเมืองป่าตอง (18) Workshop ในหัวข้อ ชวนชุมชนออกแบบพื้นที่สุขภาวะให้กับย่านเมืองเก่าภูเก็ต ร่วมกับ 3 ชุมชน (19) เปิดพื้นที่ทดลอง “แล เล่น รักษ์ เล” เพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะริมชายหาดต้นแบบ ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในชีวิตประจำวันให้กับประชาชน (20) จัดทำรายละเอียดการออกแบบรูปแบบกิจกรรมในพื้นที่ย่านเมืองเก่าภูเก็ต เเละพื้นที่สวนสาธารณะสะพานหิน (21) การลงพื้นที่เพื่อเก็บภาพบรรยากาศพื้นที่ทดลอง เเล เล่น รักษ์ เล (22) ประชุมรายงานความก้าวหน้ากับทีม ม.อ. ภูเก็ต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (ย่านเมืองเก่า, ป่าตอง, สะพานหิน) จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด