สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ”

กลุ่มข้าวภูผา ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด , กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูพันธุ์ข้าวพื้นบ้านนาปะขอ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว , กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวสังข์หยด ตำบลตำนาน อำเภอเมือง , ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านควนกุฎ ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมือง,กลุ่มผู้ผลิตข้าวซ้อม

หัวหน้าโครงการ
นายเทพรัตน์ จันทพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ที่อยู่ กลุ่มข้าวภูผา ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด , กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูพันธุ์ข้าวพื้นบ้านนาปะขอ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว , กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวสังข์หยด ตำบลตำนาน อำเภอเมือง , ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านควนกุฎ ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมือง,กลุ่มผู้ผลิตข้าวซ้อม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 61-ข-056

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กลุ่มข้าวภูผา ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด , กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูพันธุ์ข้าวพื้นบ้านนาปะขอ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว , กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวสังข์หยด ตำบลตำนาน อำเภอเมือง , ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านควนกุฎ ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมือง,กลุ่มผู้ผลิตข้าวซ้อม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มข้าวภูผา ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด , กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูพันธุ์ข้าวพื้นบ้านนาปะขอ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว , กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวสังข์หยด ตำบลตำนาน อำเภอเมือง , ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านควนกุฎ ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมือง,กลุ่มผู้ผลิตข้าวซ้อม รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 6 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนงานในปีที่ผ่านมาโดยคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ โดยชุดคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยเพิ่มเติมจากสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส. มอ.) ภายใต้ “โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง” โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อช่วยให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มีประสิทธิภาพ โดยดำเนินกิจกรรมจัดการข้อมูลข้าวจังหวัดพัทลุงตั้งแต่ต้นน้ำ - ปลายน้ำของการผลิตข้าวอินทรีย์ โดยเฉพาะการทำ Mapping และนำแผนยุทธศาสตร์ระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน โดยมีผู้เข้าร่วมในกระบวนการระดมความคิดเห็นทั้งหมด 376 คน จาก 9 กลุ่มเครือข่าย 21 หน่วยงาน) ส่งผลให้ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงมีความสมบูรณ์ มากขึ้น
ผลการขับเคลื่อนโครงการดังกล่าวทำให้ได้ข้อมูลข้าวจังหวัดพัทลุงโดยการทำ Mapping การกำหนดเป้าหมายหรือ ภาพอนาคตการจัดการข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง การจัดทำยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง เกิดกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2562 – 2566 จากผลดังกล่าวจะทำให้แผนยุทธศาสตร์เกิดผล สามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นรูปธรรมต้องเริ่มจากเกษตรกรที่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของเกษตรกรเพื่อสร้างการเรียนรู้ ซึ่งจังหวัดพัทลุงก็เป็นหนึ่งในหกของจังหวัดนำร่องด้านเกษตรปลอดภัย โดยพื้นฐานจังหวัดพัทลุงเป็นเมืองอู่ข้าวของภาคใต้ โดยมีรายได้จากการผลิตและแปรรูปข้าวเป็นอันดับสาม รองลงมาจากยางพาราและปศุสัตว์ ดังการไปถึงเป้าหมายเมืองเกษตรปลอดภัย ในด้านการผลิตและการแปรรูปข้าวจำเป็นต้องพัฒนาด้านมาตรฐานการเกษตรอินทรีย์ให้กับกลุ่มเกษตรกร โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การขับเคลื่อนกระบวนการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee Systems – PGS) ให้กับกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการในการดำเนินงาน เพื่อรองรับความต้องการของตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน สร้างอัตลักษณ์ของข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง โดยกระบวนการมีส่วนร่วม อันจะนำไปสู่พัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืนต่อทั้งตัวเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การพัฒนามาตรฐานรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง (Phatthalung organic PGS)
  2. การติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์พัทลุง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง 2.2 เพื่อพัฒนาระบบตลาดแบบสมาชิกที่สนับสนุนโดยชุมชน (Community Supported Agriculture : CSA )ระหว่างกลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงกับกลุ่มผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมกลุ่มเครือข่ายพัฒนาระบบการรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 1

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปประชุม

     

    30 20

    2. ประชุมกลุ่มเครือข่ายพัฒนาระบบการรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 2

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบเกษตรอินทรีย์ โดยวิทยากรกระบวนการ

    2.แบ่งกลุ่มฝึกปฎิบัติการทำปุ่ยหมัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเกษตรกร ประมาณ 60 คน ที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจการทำเกษตรอินทรีย์ และได้ร่วมทำปุ่ยหมักที่นำเอาวัสดุจากท้องถิ่นในการทำปุ่ย เพื่อนำไปสู่การลดใช้สารเคมีในแปลงเกษตร

     

    30 60

    3. ฝึกอบรมสมาชิก/ศึกษาดูงาน ครังที่ 1

    วันที่ 15 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนกลุ่มเกษตรกร ที่ถูคัดเลือกเป็นคณะกรรมการ ประมาณ30 คนเข้าร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อให้คณะทำงานมีความเข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนากลุ่มของตนเองในพื้นที่จังหวัดพัทลุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ตัวแทนกลุ่มเกษตรกร ที่ถูคัดเลือกเป็นคณะกรรมการ ประมาณ30 คนเข้าร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
    2.คณะทำงานมีความเข้าใจ รูปแบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์

     

    30 30

    4. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมPGSจังหวัพัทลุง

    วันที่ 9 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมPGSจังหวัพัทลุง เพื่อวางแผนการตรวจแปลง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการ จำนวน 30คน

     

    30 30

    5. การตรวจเยี่ยมแปลง

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการลงพื้นที่ตรวจแปลงเกษตรกร ระหว่างเดือน พค.-กค.62 ดังนี้ กลุ่มสมุนไพรอำเภอเมือง กลุ่มวิชาลัยรวงข้าว อ.ควนขนุน กลุ่มวิสาหกิจท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ อ.ควนขนุน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนกรำ อ.กงหรา กลุ่มวิถีคนโป๊ะเลียบนาแค อ.ตะโหมด กลุ่มเกษตรวิถีพุทธ อ.ตะโหมด กลุ่มผลไม้บ้านห้วยครก/ วสช.ปลูกผักบ้านใสประดู่ กลุ่มสมุนไพร อ.ป่าบอน กลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปขมิ้น ต.ลานข่อย อ.ป่าพะยอม กลุ่มสมุนไพรพอเพียง อ.ศรีนครินทร์ กลุ่มสมุนไพรบ้านนาวง อ.ศรีนครินทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เกิดแปลงเกษตรกร  ที่ได้รับมาตรฐานการรับรอง PGS จำนวน 11 กลุ่ม ดังนี้
    กลุ่มสมุนไพรอำเภอเมือง กลุ่มวิชาลัยรวงข้าว อ.ควนขนุน กลุ่มวิสาหกิจท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ อ.ควนขนุน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนกรำ อ.กงหรา กลุ่มวิถีคนโป๊ะเลียบนาแค อ.ตะโหมด กลุ่มเกษตรวิถีพุทธ อ.ตะโหมด กลุ่มผลไม้บ้านห้วยครก/ วสช.ปลูกผักบ้านใสประดู่ กลุ่มสมุนไพร อ.ป่าบอน กลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปขมิ้น ต.ลานข่อย อ.ป่าพะยอม กลุ่มสมุนไพรพอเพียง อ.ศรีนครินทร์ กลุ่มสมุนไพรบ้านนาวง อ.ศรีนครินทร์

    2.มีช่องทางของตลาดขายสินค้าออนไลน์ ระหว่างเกษตรผู้ผลิต และผู้บริโภค ในระบบเว้ปไซต์ https://www.pgsphatthalung.com

     

    30 100

    6. รายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2562 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการงานในระบบเว้ปไซต์ และรายงานเอกสารการเงิน

     

    30 2

    7. การบริหารจัดการโครงการ

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การบริหารโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การบริหารโครงการ

     

    30 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 การพัฒนามาตรฐานรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง (Phatthalung organic PGS)
    ตัวชี้วัด :

     

    2 การติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์พัทลุง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง 2.2 เพื่อพัฒนาระบบตลาดแบบสมาชิกที่สนับสนุนโดยชุมชน (Community Supported Agriculture : CSA )ระหว่างกลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงกับกลุ่มผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การพัฒนามาตรฐานรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง (Phatthalung organic PGS) (2) การติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์พัทลุง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับรองข้าวอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมจังหวัดพัทลุง 2.2 เพื่อพัฒนาระบบตลาดแบบสมาชิกที่สนับสนุนโดยชุมชน (Community Supported Agriculture : CSA )ระหว่างกลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงกับกลุ่มผู้บริโภค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จ.พัทลุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเทพรัตน์ จันทพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด