สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการถอดบทเรียนการนำแนวทางการจัดบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมไปปฏิบัติในพื้นที่ 5 จังหวัดชาดแดนใต้

ประชุมถอดบทเรียน15 มกราคม 2562
15
มกราคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย นักศึกษาฝีกงาน
circle
วัตถุประสงค์

1.เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและปรับปรุงแก้ไขรายงานฉบับสมบูร์ทั้ง 5 พื้นที่ดำเนินการ 2.พบเครืออข่ายแต่ละโรงพยาบาล แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจุดอ่อนจุดแข็งในการดำเนินการ ให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินการในระยะต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.รับฟังการนำเสนอผลการดำเนินงานแต่ละโรงพยาบาล ในประเด็นกระบวนการกิจกรรม ผลการจัดกิจกรรม

2.รับฟังการวิพากษ์จากผู้รับผิดชอบของศวสต.เพื่อปรับแก้งานก่อนนำเสนอแก่คณะทำงานสจรส.

3.ปรับแก้เนื้อหารายงานสฉบับสมบูรณ์ (ดังเอกสารแนบ) 4.ให้ข้อเสนอเพ่ือการทำงานต่อยอดโดยสรุปดังนี้ 1) โรงพยาบาลสตูลเน้นการนำระบบวิจัยมาวิเคราะห์ผลเชิงบวกที่เกิดจากการขับเคลื่อนระบบบริการ 2) รพ.เทพา ขับเคลื่อนเป็นพื้นที่ต้นแบบและการสร้างความยั่งยืนและขยายไปสู่หน้างานในส่วนอื่น ๆ 3) รพ.ธารโตสร้างคนธารโตรุ่นใหม่ 4.รพ.รือเสาะเน้นการขับเคลื่ือนพหุวัฒนธรรมเพ่ือสันติภาพ และ5) รพ.ยะหริ่ง เน้นการนำพหุวัฒนธรรมมาใช้เพ่ือแก้ปัญหาแม่และเด็ก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดประชุม 2 วันเกิดข้อมูลบทเรียนจากการทำงานภายใต้โครงการถอดบทเรียนการนำแนวทางการจัดบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในพื้นที่5จังหวัดชายแดนใต้ มีการพบปะแลกเปลี่ยนเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการทำงาน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ ตัวแทนเจ้าหน้าที่ รพ.ใน5จังหวัดชายแดนใต้ จำนวน40 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การจัดประชุมมีข้อจำกัดในรูปแบบกิจกรรม บรรยายกากาศการวิพากษ์งานไม่เสริมพลังคนทำงาน รูปแบบการเสนอข้อมูลมีลักษณะเชิงตัดสินมากกว่าการสร้างการเรียนรู้ การนำเสนอสะท้อนให้เห็นว่าคำสั่งการเชิงนโยบายไม่ชัดเจนว่าต้องการขับเคลื่ือนตัวชี้วัดสุขภาพลักษณะไหน แต่ละฝ่ายทำงานตามความสนใจ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ควรกำหนดเป้าหมายร่วมในการขับเคลื่ือระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมให้ชัดเจนเช่น สุขภาวะคนทำงาน สุขภาวะชุมชน สันติภาพ หรือจะเป็นองค์กรเรียนรู้

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

การออกแบบกิจกรรมประชุมที่ส่งเสริมให้สร้างพลังคนทำงาน การสร้างระบบขับเคลื่อนที่เน้นประเด็นจุดร่วมแลจุดต่างของความจำเพาะในการขับเคลื่อนประเด็นแต่ละพื้นที่