สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร9 กุมภาพันธ์ 2562
9
กุมภาพันธ์ 2562รายงานจากพื้นที่ โดย นายปวิตร ชัยวิสิทธ์
circle
วัตถุประสงค์

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)
1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ
2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ 3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ 5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-สำหรับรูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ พบว่า อำเภอบ้านนาสารและอำเภอคีรีรัฐนิคม มีรูปแบบการมีส่วนร่วมที่คล้ายคลึงกัน แตกต่างเพียงแค่รูปแบบกิจกรรมที่ดำเนินการ คือ อำเภอบ้านนาสาร ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพและโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และกระทรวงมหาดไทยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ กระทรวงสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมต่างภายในพื้นที่ เช่น รพ.สต. สสอ. รพ. และ สสจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. และ อบต. และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนภายในโรงเรียนผู้สูงอายุและการส่งเสริมอาชีพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้านการจัดทำแผนชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการทำ MOU เพื่อจัดทำหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ วัดมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนธรรมมะในชีวิตประจำวัน กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 6 คน
ประกอบด้วย

-ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่สาสุข 3 คน แกนนำผู้สูงอายุ 2 ุคน และผู้สูงอายุ 5 คน และ เจ้าหน้า ที่ อบต 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-