สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม20 มกราคม 2562
20
มกราคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย นายปวิตร ชัยวิสิทธ์
circle
วัตถุประสงค์

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping 1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ
2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ 3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ 5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ ในพื้นที่โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง ในการเขียนแผนโครงการ และการวิเคราะห์สถานะสุขภาพของผู้สูงอายุ จากฐานข้อมูล J ของสถานีอนามัย และการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ มีการคัดกรองผูู้งอายุออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้สูงอายุติดสังคม ติดบ้าน และ ติดเตียง จะได้รับการดูแล ตามบริการ LTC ตาม Standard of living และ Standard of care มี ประเมินความต้องการ
  2. ด้านร่างกาย จิตใจ สิ่งแวดล้อมตามระดับการพึ่งพิง 2. ด้านความจำเป็นในการรับบริการจากรัฐ แล้วคืนให้ในแต่ละชุมชน และช่วยกันเขียนแผนโครงการผู้สูงอายุ ไปยังกองทุนสุขภาพระดับตำบล โดยมีคณะกรรมการ 3 ชุด กลั่นกรองตัวโครงการเพื่อให้ มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
    การดำเนินการพัฒนาคุณภาพชัวิตของผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐ เน้น ฟื้นฟูสุขภาพ (กายอุปกรณ์) โดยมีการจัดเป็นกองทุนกายอุปกรณ์ ในแต่ละ อบต โดยให้ เจ้าหน้าที่ รพ สต ประเมินสภานะสุขภาพ หากต้องฟื้นฟูสุขภาพ (กายอุปกรณ์) ส่งต่อให้ โรงพยาบาลประเมิน แล้วจะได้รับการสนับสนุน กายอุปกรณ์ จาก อบจ ส่วนการดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่ติดสังคมกำลังมีการพัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุ

  3. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ กองฟื้นฟูสุขภาพ (กายอุปกรณ์) ได้ขยายไปในพื้นที่ของ อำเภอคีรีรัฐ และได้เป็นอำเภอต้นแบบในการดำเนินการ และ การการขยายกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุไป ยังตำบลที่มีความพร้อม และใกล้ครอบคลุมมั้งอำเภอ และไม่ได้พลักดันเป็น พชอ เนื่องจาก การดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ดำเนินการอยู่แล้ว จึงไม่ใช้ประเด็นทท่าทาย

  4. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
    มีการพลักดันนโยบายจากส่วนกลางลงสู่จังหวัด และมาบรรจบกันในระดับอำเภอ

  5. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ ไม่เป็น
  6. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ โรงพยาบาล อบจ กศน สาธารณสุข เกษตร อบต พัฒนาสังคม แกนนำชุมชน และ เอกชน มีส่วนร่วมในกรดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

ประธานชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุในระดับอำเภอและ รพ สต

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-