สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (งานบริหารกลาง)

ประชุมวิชาการด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย ครั้งที่ 1 พ.ศ. 256530 มกราคม 2566
30
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 20230130 Strategic plan V15 (1).pdf
  • 20230130 Action Plan V3.pdf
  • เว็บไซต์เพื่อการพัฒนาศักยภาพในการวางแผน.pdf
  • ประชุมวิชาการ TPAC 30-31 มค.1 กพ..pdf
  • Schedule_TPAC-2022_(TH)_1674967748.pdf
  • Pre-Proceeding TPAC_2022 รวมเอกสารวิชาการ.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วย คณะกรรมการอำนวยการจัดประชุมวิชาการด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2565 “ The 1st Thailand Physical Activity Conference 2022 (TPAC)” จะดำเนินการจัดประชุมวิชาการดังกล่าวระหว่าง วันที่ 30 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์2566 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อให้เกิดการนำเสนอผลงานวิชาการของ ภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้เป็นที่รับรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทำงานด้านการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตลอดจนการนำองค์ความรู้ที่ได้จากการประชุมวิชาการไปพัฒนาต่อยอดให้การดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเกิดประโยชน์สูงสุดต่อสุขภาพของประชากรไทย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีบทความเกี่ยวกับ PA จำนวน 36 เรื่อง แบ่งได้ดังนี้ 1) Active People จำนวน 11 เรื่อง มีประเด็น ได้แก่ เด็กปฐมวัย เด็กและเยาวชน วัยทำงาน วัยผู้สูงอายุ และกลุ่มเปราะบาง
    2) Active Environment จำนวน 4 เรื่อง ได้แก่ Whole-of-school programmers, Active urban design, Active travel/transport, Work places
    3) Active Society จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ การรณรงค์ ชุดความรู้ ความเสมอภาค
    4) Active System/Policy จำนวน 16 เรื่อง ได้แก่ Health Innovation/Application, Informatic System, Policy
  • ข้อมูลดังกล่าวสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในพื้นที่โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายได้ โดยเฉพาะประเด็น Active Environment