สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ประเมินผลภายใน การจัดการปัจจัยเสี่ยงตามแนวทางสันติสุขภาวะ

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) บัณฑิตอาสาในพื้นที่ 5 จังหวัด จำนวน 317 คน มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการ ดำเนินโครงการพร้อมทั้งการติดตามประเมินผล (2) เกิดแผนงานโครงการการจัดการปัจจัยเสี่ยงตามแนวทางสันติสุขภาวะเพื่อเสนอของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนตำบล อย่างน้อย 317 โครงการ (3) ข้อเสนอเชิงนโยบายการดำเนินงานสันติสุขภาวะในพื้นที่ผ่านกลไกบัณฑิตอาสา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การกลั่นกรองและการกำหนดขอบเขตการประเมิน (Screening and Scoping ) ครั้งที่ 1 (2) การกลั่นกรองและการกำหนดขอบเขตการประเมิน (Screening and Scoping ) ครั้งที่ 2 (3) ขั้นตอนการกลั่นกรองและการกำหนดขอบเขตการประเมิน (Screening and Scoping ) ครั้งที่ 3 (4) การประเมินผลกระทบ (assessing) (นราธิวาส และยะลา) (5) การประเมินผลกระทบ (assessing) (ปัตตานี และสงขลา) (6) การประเมินผลกระทบ (assessing) (สตูล) (7) การผลักดันสู่การตัดสินใจ (8) การทบทวนร่างรายงานโดยสาธารณะ (Public review) (9) ประชุมวางแผนการลงพื้นที่ประเมินโครงการบัณฑิตอาสา (10) การประเมินความพึงพอใจและความรู้ความเข้าใจในการเขียนโครงการเพื่อรับการสนับสนุนงบประมาณ จังหวัดปัตตานี (11) การติดตามประเมินผล (12) ประชุมปรับแผนการดำเนินงาน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (13) ประชุมเตรียมการจัดทำเครื่องมือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลฉบับอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเก็บข้อมูลออนไลน์ (14) การคัดเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลการประเมินเพื่อประสานงานเชิญเข้าร่วมประชุม (15) ทดสอบเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลออนไลน์ และรายงานผลการประสานงานเพื่อจัดประชุมเบื้องต้น (16) ประชุมเพื่อเตรียมการจัดประชุมออนไลน์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแทนบัณฑิตอาสา 5 จังหวัดชายแดนใต้ (17) การประชุมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการรูปแบบออนไลน์จากบัณฑิตอาสาฯ จ.ปัตตานี (เพิ่มเติม) (18) การประชุมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการรูปแบบออนไลน์จากบัณฑิตอาสาฯ จ.ยะลา (19) การประชุมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการรูปแบบออนไลน์จากบัณฑิตอาสาฯ จ.นราธิวาส (20) การประชุมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการรูปแบบออนไลน์จากบัณฑิตอาสาฯ จ.สงขลา (21) การประชุมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการรูปแบบออนไลน์จากบัณฑิตอาสาฯ จ.สตูล (22) ดำเนินการโอนเงินค่าตอบแทนและรายจ่าย ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินด้วยระบบโอนไลน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ