สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร : พืชร่วมยาง

ประชุมติดตามการดำเนินงานพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง24 กันยายน 2564
24
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Aitsara
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามการดำเนินงานและร่วมให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ประเด็นการทำพืชร่วมยาง จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีกลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นอาหารปลอดภัย-ยาง ที่ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพร สมาคมเพื่อนสิ่งแวดล้อม/สมัชชาสุขภาพชุมพร เครือข่ายธนาคารต้นไม้ สภาองค์กรชุมชน และรพสต.บ้านทับช้าง อ.ทุ่งตะโก
  2. ได้ข้อเสนอและแนวทางการดำเนินงานร่วมกันของ กยท.-สถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
  3. เกษตรแปลงต้นแปลงและเกษตรในพื้นที่ใกล้เคียงเข้าร่วมเรียนรู้รูปแบบการเกษตรผสานผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรีย์ และเทคโนโลยีการผลิตเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 110 ราย
  4. เกษตรกรเป้าหมาย ทำพืชร่วมร่วมยาง 100%
  5. ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยาง มีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนทุกครัวเรือน
  6. เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 5,000 บาทต่อเดือน และมีรายจ่ายลดลงเฉลี่ย 3000 บาท ต่อเดือน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่