สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

พืชร่วมยาง ชุมพร

ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 22 กันยายน 2563
2
กันยายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย Kero
  • ประชุมร่วมกับ กยท.และคณะกรรมการฯ
  • รายงานประชุมวันที่ 2 กย. 63 กยท.เมือง ชุมพร.docx
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เชิญตัวแทนกลไกคณะทำงานทั้ง 3 กิจกรรมใช้คณะกรรมการอำนวยการ/คณะทำงาน Node flagship  สสส.ชุมพร  โดยต้องเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม ได้แก่ กยท.ชุมพร,กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ฯ,สนง.ปศุสัตว์จังหวัด,สนง.ประมงจังหวัดและตัวแทนคณะกรรมการเกษตรกรการยาง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดทีมขับเคลื่อนพืชร่วมยางและมีแผนการขับเคลื่อน ดังนี้

  1. ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด
  2. คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล
  3. ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน
  4. เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ
  5. ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค)
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่