โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วน กรณีกลุ่มฮักน้ำจาง หมู่บ้านนากว้าว(กิ่ว)หมู่ 4 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง”

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วน กรณีกลุ่มฮักน้ำจาง หมู่บ้านนากว้าว(กิ่ว)หมู่ 4 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง”

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019 กำหนดเสร็จ 30/09/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 30
นักศึกษา 10
อาจารย์ที่ปรึกษา 10

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง แม่ทะ บ้านกิ่ว

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้มีความเข้มแข็งในการพึ่งตนเอง สามารถนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาจัดการในด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาดสำหรับจำหน่ายผลผลิตผักอย่างเป็นระบบและยั่งยืน 2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนต้นแบบด้านการผลิตผักอินทรีย์ และพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชน 3.เพื่อบูรณาการการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ เชื่อมโยงให้เกิดการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้และขยายผล วิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ และสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกผัก อินทรีย์ 4.เป็นการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอน และการวิจัยของมหาวิทยาลัย 5.เป็นการสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

(1) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้ (Output)
-จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน -.ได้ชุดความรู้ของของการผลิตผักปลอดสารพิษของชุมชน -.ภาคีเครือข่ายที่จะบูรณาการการทำงานร่วมกัน -จำนวนเทคโนโลยีที่มีการถ่ายทอด 5 เทคโนโลยีหลัก -จำนวนแปลงที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน Organic Thailand จำนวน 5 แปลง -จำนวนวิทยากรชุมชนที่เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีที่ถ่ายทอด จำนวน 5 คนและอาสาสมัครชุมชนในการช่วย
ตรวจแปลงให้การผลิตได้มาตรฐาน Organic Thailand จำนวน 2 คน -จำนวนผู้ผลิตผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย จำนวน 35 คน (50%  ของสมาชิกกลุ่ม) ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ ให้ผู้รับการถ่ายทอด ได้เดือนละไม่น้อยกว่า 2,000 บาท/เดือน/คน หรือรายรับรวมไม่น้อยกว่า 840,000
บาท/ปี/ชุมชน -บทเรียนและองค์ความรู้การปลูกผักอินทรีย์ของชุมชน 1 เรื่อง -ได้ชุดความรู้ของของการผลิตผักอินทรีย์และกระบวนการผลิตที่มีมาตรฐานอินทรีย์ -แผนการพัฒนาชุมชนโดยชุมชน -ความพึงพอใจของผู้รับบริการในหมู่บ้านเป้าหมาย ระดับดี-ดีมาก (มากกว่าร้อยละ 80) (2)  ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome)
-ได้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกับนักวิชาการ -ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มในเรื่องการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจาง -ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชนและ ท้องถิ่น -ยกระดับรายได้ และการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจในชุมชนให้ดีขึ้น -กลุ่มเกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตผักอินทรีย์กับกลุ่มอื่น ๆ
-ยกระดับคุณภาพการผลิตผักอินทรีย์ของชุมชนให้ดีขึ้นสามารถพึ่งพาตนเองได้ -ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เกิดการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี -เกิดความเข้มแข็งของการดำเนินโครงการรวมทั้งเสริมสร้างความมั่นใจแก่ชุมชน -นักศึกษาสามารถนำความรู้มาช่วยในชุมชนและนำโจทย์จากชุมชนมาใช่ในการศึกษาได้

(3)  ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) – -ได้ชุมชนต้นแบบที่มีความเข้มแข็งในการผลิตผักอินทรีย์แบบครบวงจร “วิถีอินทรีย์ วิถีฮักน้ำจาง” --พัฒนาอาชีพการปลูกผักอินทรีย์ให้มีความยั่งยืนในชุมชนและได้รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ได้ มาตรฐานของประเทศไทย "Organic Thailand's Brand"  และมาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย -เป็นการประชาสัมพันธ์การทำงานให้กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นการสร้างภาคี เครือข่ายการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย -เป็นการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน

0.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมย่อยที่ 1 เวทีทบทวนภาพรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ผ่านมา และทำการถอดบทเรียนด้านการการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจางในส่วนของการดำเนินงานที่ผ่านมาในปีแรกและปีที่ 2 แต่ละเรื่อง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อยที่ 1 เวทีทบทวนภาพรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ผ่านมา และทำการถอดบทเรียนด้านการการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจางในส่วนของการดำเนินงานที่ผ่านมาในปีแรกและปีที่ 2 แต่ละเรื่อง
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    รายละเอียดกิจกรรม
    ปี พ.ศ. 2562
    ปี พ.ศ. 2563 ผลลัพธ์ของกิจกรรม
    ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย ก.ค. ส.ค. ก.ย.
    1.วางแผนการดำเนินการ(P)
    ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
    มอบหมายผู้รับผิดชอบ โครงการสามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
    2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
    จัดเวทีร่วมกันระหว่างนักวิชาการและชาวบ้าน สำรวจองค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินงานไปแล้ว 1 ปี เพื่อวางแผนเพิ่มในปีที่ 2
    3.การติดตามประเมินผล(C)
    จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน ประเมินองค์ความรู้ที่จะเพิ่มเติมในปีที่ 2
    4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
    การติดตาม(A)
    วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ กำหนดแผนงานในการถ่ายทอดองค์คงามรู้ปีที่ 2
    งบประมาณ 20,000 บาท
    หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
    1.ค่าตอบแทน
    2.ค่าใช้สอย
    10,000
    3.ค่าวัสดุ
    10,000
    จำนวนเงิน 20,000
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
    1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
    2.ได้ชุดความรู้ของของการผลิตผักปลอดสารพิษของชุมชนที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในปีที่ 1,2
    3.ภาคีเครือข่ายที่จะบูรณาการการทำงานร่วมกัน
    ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
    1. ได้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกับนักวิชาการ
    2. ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มในเรื่องการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจาง
    3. นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    1.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
    2.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง กรมวิชาการเกษตร
    3.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
     
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 20,000

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมย่อยที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตผักอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมในชุมชน โดยจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วม

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมย่อยที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตผักอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมในชุมชน โดยจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วม
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
      มอบหมายผู้รับผิดชอบ
      2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
      จัดเวทีร่วมกันระหว่างนักวิชาการและชาวบ้าน จัดอบรม
      -หลักสูตรการผลิตผักให้มีมาตรฐานตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และ
      -หลักสูตรการวางแผนการผลิตผักทั้งปีให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้บริโภค
      3.การติดตามประเมินผล(C)
      จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน
      4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
      การติดตาม(A)
      วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
      งบประมาณ 30,000 บาท
      หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
      1.ค่าตอบแทน
      5,000
      2.ค่าใช้สอย
      10,000
      3.ค่าวัสดุ
      15,000
      จำนวนเงิน 30,000
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 พ.ค. 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
      1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
      2.จำนวนแปลงที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP จำนวน 5 แปลง
      3.จำนวนผู้ผลิตผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย จำนวน 35 คน (50% ของสมาชิกกลุ่ม)
      4.จำนวนวิทยากรชุมชนที่เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีที่ถ่ายทอด จำนวน 5 คนและอาสาสมัครชุมชนในการช่วยตรวจแปลงให้การผลิตได้มาตรฐาน GAP จำนวน 2 คน
      ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
      1. ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีได้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกับนักวิชาการ
      2. ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้ผู้รับการถ่ายทอด ได้เดือนละไม่น้อยกว่า 2,000 บาท/เดือน/คน หรือรายรับรวมไม่น้อยกว่า 840,000 บาท/ปี/ชุมชน
      3. นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
      2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
      3.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง กรมวิชาการเกษตร
      4.สาธารณสุขจังหวัดลำปาง
      5.อำเภอแม่ทะ
       
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร 1 ชุด 5,000 1 5,000
      อื่น ๆ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 15,000 1 15,000
      รวมค่าใช้จ่าย 30,000

      กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมย่อยที่ 3 การขอรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต และการขอรับรองผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน อย.และการสร้างสถานที่คัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย การขอรับรองมาตรฐานอินทรีย์ Organic Thailand

      ชื่อกิจกรรม
      กิจกรรมย่อยที่ 3 การขอรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต และการขอรับรองผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน อย.และการสร้างสถานที่คัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย การขอรับรองมาตรฐานอินทรีย์ Organic Thailand
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        รายละเอียดกิจกรรม
        1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
        มอบหมายผู้รับผิดชอบ
        2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
        จัดการขอรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต และการขอรับรองผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน อย.และการสร้างสถานที่คัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย การขอรับรองมาตรฐานอินทรีย์ Organic Thailand
        3.การติดตามประเมินผล(C)
        จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน
        4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
        การติดตาม(A)
        วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
        งบประมาณ 170,000 บาท
        หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
        1.ค่าตอบแทน
        2.ค่าใช้สอย
        20,000
        3.ค่าวัสดุ
        150,000
        จำนวนเงิน 170,000
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
        1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
        2.บทเรียนและองค์ความรู้การปลูกผักอินทรีย์และการแปรรูปผลิตภัณฑ์แบบมาตรฐาน
        ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
        . ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชนและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สำหรับจำหน่ายเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า
        - นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
        2.สำนักงานเกาตรอำเภอแม่ทะ
        3.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง กรมวิชาการเกษตร
        4.สาธารณสุขจังหวัดลำปาง
        5.อำเภอแม่ทะ
         
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        อื่น ๆ 1 ครั้ง 20,000 1 20,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 150,000 1 150,000
        รวมค่าใช้จ่าย 170,000

        กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมย่อยที่ 4 เวทีเพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้ในแต่ละเรื่องของการผลิตผักอินทรีย์ และมีข้อมูลเชิงประจักษ์โดย ร่วมกันของชุมชนกับ นักวิชาการ ดังต่อไปนี้ โดยเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่สูงขึ้นจากปีที่ 2

        ชื่อกิจกรรม
        กิจกรรมย่อยที่ 4 เวทีเพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้ในแต่ละเรื่องของการผลิตผักอินทรีย์ และมีข้อมูลเชิงประจักษ์โดย ร่วมกันของชุมชนกับ นักวิชาการ ดังต่อไปนี้ โดยเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่สูงขึ้นจากปีที่ 2
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          รายละเอียดกิจกรรม
          1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
          มอบหมายผู้รับผิดชอบ
          2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
          เวทีเพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้ในแต่ละเรื่องของการผลิตผักอินทรีย์ และมีข้อมูลเชิงประจักษ์โดยร่วมกันของชุมชนกับนักวิชาการ ดังต่อไปนี้ โดยเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่สูงขึ้นจากปีที่ 2 ในเรื่อง
          -การปลูกผักอินทรีย์และการผลิตเมล็ดพันธุ์ชุมชน
          -การปลูกผักเชียงดาและผักพื้นบ้าน
          -การคัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน
          -มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand)
          3.การติดตามประเมินผล(C)
          จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน
          4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
          การติดตาม(A)
          วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
          งบประมาณ 40,000 บาท
          หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
          1.ค่าตอบแทน
          2.ค่าใช้สอย
          14,000
          3.ค่าวัสดุ
          26,000
          จำนวนเงิน 40,000
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
          1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
          ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
          . ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชนและ
          - นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
          2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
          3.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง
           
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          อื่น ๆ 1 ชุด 14,000 1 14,000
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 26,000 1 26,000
          รวมค่าใช้จ่าย 40,000

          กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมย่อยที่ 5 การศึกษาดูงานและการทำเวทีคืนความรู้สู่ชุมชน

          ชื่อกิจกรรม
          กิจกรรมย่อยที่ 5 การศึกษาดูงานและการทำเวทีคืนความรู้สู่ชุมชน
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
            มอบหมายผู้รับผิดชอบ
            2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
            ศึกษาดูงาน
            3.การติดตามประเมินผล(C)
            ความพึงพอใจของชาวบ้าน
            4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
            การติดตาม(A)
            วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
            งบประมาณ 30,000 บาท
            หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
            1.ค่าตอบแทน
            2.ค่าใช้สอย
            30,000
            3.ค่าวัสดุ
            จำนวนเงิน 30,000
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
            1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 30 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
            ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
            . ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชน
            - นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            1.สำนักงานเกษตรจังหวัด
            2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
             
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            อื่น ๆ 1 ชุด 30,000 1 30,000
            รวมค่าใช้จ่าย 30,000

            กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมย่อยที่ 6 การลงพื้นที่ ติดตาม บ่มเพาะ ให้คำปรึกษาในพื้นที่

            ชื่อกิจกรรม
            กิจกรรมย่อยที่ 6 การลงพื้นที่ ติดตาม บ่มเพาะ ให้คำปรึกษาในพื้นที่
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              รายละเอียดกิจกรรม
              1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
              มอบหมายผู้รับผิดชอบ
              2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
              การลงพื้นที่ ติดตาม บ่มเพาะ ให้คำปรึกษาในพื้นที่
              3.การติดตามประเมินผล(C)
              ความพึงพอใจของชาวบ้าน
              4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
              การติดตาม(A)
              วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
              งบประมาณ 10,000 บาท
              หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
              1.ค่าตอบแทน
              2.ค่าใช้สอย
              10,000
              3.ค่าวัสดุ
              จำนวนเงิน 10,000
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
              1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
              ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
              . เกิดความเข้มแข็งของการดำเนินโครงการรวมทั้งเสริมสร้างความมั่นใจแก่ชุมชน
              - นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
              2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
               
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              อื่น ๆ 1 ชุด 10,000 1 10,000
              รวมค่าใช้จ่าย 10,000

              รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

              ค่าตอบแทนค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
              ค่าใช้จ่าย (บาท) 5,000.00 201,000.00 94,000.00 300,000.00
              เปอร์เซ็นต์ (%) 1.67% 67.00% 31.33% 100.00%
              ดูงบประมาณตามประเภท

              งบประมาณโครงการ

              จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

              งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

              งบประมาณรวม จำนวน บาท

              15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

              ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

              16. การติดตาม/การประเมินผล

              ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

              17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

              แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

              18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

              19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

              กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

              20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

              ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


              ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

              1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              1. การมีส่วนร่วม

              คะแนน 5 4 3 2 1

              2. ผู้นำ/แกนชุมชน

              คะแนน 5 4 3 2 1

              การพัฒนาโครงการ

              มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

              การติดตามประเมินผล

              • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

              ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              3. โครงสร้างองค์กร

              คะแนน 5 4 3 2 1

              การพัฒนาโครงการ

              โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
              การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

              การติดตามประเมินผล

              • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

              ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              4. การประเมินปัญหา

              คะแนน 5 4 3 2 1

              5. การถามว่าทำไม

              คะแนน 5 4 3 2 1

              การพัฒนาโครงการ

              การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
              การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
              การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
              การมีแผนชุมชน

              การติดตามประเมินผล

              • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

              ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              6. การระดมทรัพยากร

              คะแนน 5 4 3 2 1

              7. การเชื่อมโยงภายนอก

              คะแนน 5 4 3 2 1

              การพัฒนาโครงการ

              แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

              การติดตามประเมินผล

              • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

              ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              8. บทบาทตัวแทน

              คะแนน 5 4 3 2 1

              ตัวแทนภายใน
              • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
              • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
              • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
              • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
              ตัวแทนภายนอก
              • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

              การพัฒนาโครงการ

              ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

              การติดตามประเมินผล

              • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
              • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

              ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              9. การบริหารจัดการ

              คะแนน 5 4 3 2 1

              การพัฒนาโครงการ

              • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

              การติดตามประเมินผล

              • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

              ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
              10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
              • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
              • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
              • กระบวนการใหม่
              • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
              • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
              • แหล่งเรียนรู้ใหม่

              การติดตามประเมินผล

              • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
              10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
              • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
              • การบริโภค
              • การออกกำลังกาย
              • การลด ละ เลิก อบายมุข
              • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
              • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
              • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
              • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

              การติดตามประเมินผล

              • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
              10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
              • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
              • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
              • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
              • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

              การติดตามประเมินผล

              • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
              10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
              • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
              • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
              • มีธรรมนูญของชุมชน
              • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

              การติดตามประเมินผล

              • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
              10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
              • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
              • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
              • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
              • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
              • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
              • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

              การติดตามประเมินผล

              • การเกิดกระบวนการชุมชน

              ตัวชี้วัดการประเมิน

              10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
              10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
              • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
              • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
              • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
              • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
              • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

              การติดตามประเมินผล

              • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

              คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

              คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

              กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

              2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

              3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

              <