แบบเสนอโครงการ

รหัสโครงการ …………………………………………

ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วน กรณีกลุ่มฮักน้ำจาง หมู่บ้านนากว้าว(กิ่ว)หมู่ 4 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง”

ชื่อองค์กร

กลุ่มคน

 

วันอนุมัติ …………………………………………

ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

งบประมาณ จำนวน 300,000.00 บาท


หลักการและเหตุผล

 

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด

วัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้มีความเข้มแข็งในการพึ่งตนเอง สามารถนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาจัดการในด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาดสำหรับจำหน่ายผลผลิตผักอย่างเป็นระบบและยั่งยืน 2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนต้นแบบด้านการผลิตผักอินทรีย์ และพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชน 3.เพื่อบูรณาการการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ เชื่อมโยงให้เกิดการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้และขยายผล วิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ และสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกผัก อินทรีย์ 4.เป็นการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอน และการวิจัยของมหาวิทยาลัย 5.เป็นการสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย (1) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้ (Output) -จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน -.ได้ชุดความรู้ของของการผลิตผักปลอดสารพิษของชุมชน -.ภาคีเครือข่ายที่จะบูรณาการการทำงานร่วมกัน -จำนวนเทคโนโลยีที่มีการถ่ายทอด 5 เทคโนโลยีหลัก -จำนวนแปลงที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน Organic Thailand จำนวน 5 แปลง -จำนวนวิทยากรชุมชนที่เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีที่ถ่ายทอด จำนวน 5 คนและอาสาสมัครชุมชนในการช่วย ตรวจแปลงให้การผลิตได้มาตรฐาน Organic Thailand จำนวน 2 คน -จำนวนผู้ผลิตผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย จำนวน 35 คน (50% ของสมาชิกกลุ่ม) ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ ให้ผู้รับการถ่ายทอด ได้เดือนละไม่น้อยกว่า 2,000 บาท/เดือน/คน หรือรายรับรวมไม่น้อยกว่า 840,000 บาท/ปี/ชุมชน -บทเรียนและองค์ความรู้การปลูกผักอินทรีย์ของชุมชน 1 เรื่อง -ได้ชุดความรู้ของของการผลิตผักอินทรีย์และกระบวนการผลิตที่มีมาตรฐานอินทรีย์ -แผนการพัฒนาชุมชนโดยชุมชน -ความพึงพอใจของผู้รับบริการในหมู่บ้านเป้าหมาย ระดับดี-ดีมาก (มากกว่าร้อยละ 80) (2) ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) -ได้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกับนักวิชาการ -ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มในเรื่องการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจาง -ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชนและ ท้องถิ่น -ยกระดับรายได้ และการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจในชุมชนให้ดีขึ้น -กลุ่มเกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตผักอินทรีย์กับกลุ่มอื่น ๆ -ยกระดับคุณภาพการผลิตผักอินทรีย์ของชุมชนให้ดีขึ้นสามารถพึ่งพาตนเองได้ -ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เกิดการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี -เกิดความเข้มแข็งของการดำเนินโครงการรวมทั้งเสริมสร้างความมั่นใจแก่ชุมชน -นักศึกษาสามารถนำความรู้มาช่วยในชุมชนและนำโจทย์จากชุมชนมาใช่ในการศึกษาได้ (3) ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) – -ได้ชุมชนต้นแบบที่มีความเข้มแข็งในการผลิตผักอินทรีย์แบบครบวงจร “วิถีอินทรีย์ วิถีฮักน้ำจาง” --พัฒนาอาชีพการปลูกผักอินทรีย์ให้มีความยั่งยืนในชุมชนและได้รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ได้ มาตรฐานของประเทศไทย "Organic Thailand's Brand" และมาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย -เป็นการประชาสัมพันธ์การทำงานให้กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นการสร้างภาคี เครือข่ายการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย -เป็นการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน 0.00

วิธีดำเนินการ/กิจกรรม

1. กิจกรรมย่อยที่ 1 เวทีทบทวนภาพรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ผ่านมา และทำการถอดบทเรียนด้านการการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจางในส่วนของการดำเนินงานที่ผ่านมาในปีแรกและปีที่ 2 แต่ละเรื่อง

รายละเอียด

รายละเอียดกิจกรรม
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2563 ผลลัพธ์ของกิจกรรม
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.วางแผนการดำเนินการ(P)
ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
มอบหมายผู้รับผิดชอบ โครงการสามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
จัดเวทีร่วมกันระหว่างนักวิชาการและชาวบ้าน สำรวจองค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินงานไปแล้ว 1 ปี เพื่อวางแผนเพิ่มในปีที่ 2
3.การติดตามประเมินผล(C)
จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน ประเมินองค์ความรู้ที่จะเพิ่มเติมในปีที่ 2
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ กำหนดแผนงานในการถ่ายทอดองค์คงามรู้ปีที่ 2
งบประมาณ 20,000 บาท
หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
1.ค่าตอบแทน
2.ค่าใช้สอย
10,000
3.ค่าวัสดุ
10,000
จำนวนเงิน 20,000

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 พฤศจิกายน 2562

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
2.ได้ชุดความรู้ของของการผลิตผักปลอดสารพิษของชุมชนที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในปีที่ 1,2
3.ภาคีเครือข่ายที่จะบูรณาการการทำงานร่วมกัน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1. ได้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกับนักวิชาการ
2. ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มในเรื่องการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มฮักน้ำจาง
3. นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

งบประมาณ 20,000.00 บาท

ภาคีร่วมสนับสนุน

1.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
2.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง กรมวิชาการเกษตร
3.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง

2. กิจกรรมย่อยที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตผักอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมในชุมชน โดยจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วม

รายละเอียด

รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
มอบหมายผู้รับผิดชอบ
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
จัดเวทีร่วมกันระหว่างนักวิชาการและชาวบ้าน จัดอบรม
-หลักสูตรการผลิตผักให้มีมาตรฐานตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และ
-หลักสูตรการวางแผนการผลิตผักทั้งปีให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้บริโภค
3.การติดตามประเมินผล(C)
จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
งบประมาณ 30,000 บาท
หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
1.ค่าตอบแทน
5,000
2.ค่าใช้สอย
10,000
3.ค่าวัสดุ
15,000
จำนวนเงิน 30,000

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 31 พ.ค. 2563

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
2.จำนวนแปลงที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP จำนวน 5 แปลง
3.จำนวนผู้ผลิตผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย จำนวน 35 คน (50% ของสมาชิกกลุ่ม)
4.จำนวนวิทยากรชุมชนที่เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีที่ถ่ายทอด จำนวน 5 คนและอาสาสมัครชุมชนในการช่วยตรวจแปลงให้การผลิตได้มาตรฐาน GAP จำนวน 2 คน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1. ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีได้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกับนักวิชาการ
2. ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้ผู้รับการถ่ายทอด ได้เดือนละไม่น้อยกว่า 2,000 บาท/เดือน/คน หรือรายรับรวมไม่น้อยกว่า 840,000 บาท/ปี/ชุมชน
3. นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

งบประมาณ 30,000.00 บาท

ภาคีร่วมสนับสนุน

1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
3.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง กรมวิชาการเกษตร
4.สาธารณสุขจังหวัดลำปาง
5.อำเภอแม่ทะ

3. กิจกรรมย่อยที่ 3 การขอรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต และการขอรับรองผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน อย.และการสร้างสถานที่คัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย การขอรับรองมาตรฐานอินทรีย์ Organic Thailand

รายละเอียด

รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
มอบหมายผู้รับผิดชอบ
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
จัดการขอรับรองมาตรฐานสถานที่ผลิต และการขอรับรองผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน อย.และการสร้างสถานที่คัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับการคัดแยกและตัดแต่งผักอินทรีย์สำหรับจำหน่าย การขอรับรองมาตรฐานอินทรีย์ Organic Thailand
3.การติดตามประเมินผล(C)
จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
งบประมาณ 170,000 บาท
หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
1.ค่าตอบแทน
2.ค่าใช้สอย
20,000
3.ค่าวัสดุ
150,000
จำนวนเงิน 170,000

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
2.บทเรียนและองค์ความรู้การปลูกผักอินทรีย์และการแปรรูปผลิตภัณฑ์แบบมาตรฐาน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
. ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชนและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สำหรับจำหน่ายเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า
- นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

งบประมาณ 170,000.00 บาท

ภาคีร่วมสนับสนุน

1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
2.สำนักงานเกาตรอำเภอแม่ทะ
3.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง กรมวิชาการเกษตร
4.สาธารณสุขจังหวัดลำปาง
5.อำเภอแม่ทะ

4. กิจกรรมย่อยที่ 4 เวทีเพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้ในแต่ละเรื่องของการผลิตผักอินทรีย์ และมีข้อมูลเชิงประจักษ์โดย ร่วมกันของชุมชนกับ นักวิชาการ ดังต่อไปนี้ โดยเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่สูงขึ้นจากปีที่ 2

รายละเอียด

รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
มอบหมายผู้รับผิดชอบ
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
เวทีเพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้ในแต่ละเรื่องของการผลิตผักอินทรีย์ และมีข้อมูลเชิงประจักษ์โดยร่วมกันของชุมชนกับนักวิชาการ ดังต่อไปนี้ โดยเพิ่มเติมองค์ความรู้ที่สูงขึ้นจากปีที่ 2 ในเรื่อง
-การปลูกผักอินทรีย์และการผลิตเมล็ดพันธุ์ชุมชน
-การปลูกผักเชียงดาและผักพื้นบ้าน
-การคัดแยกผักให้ได้มาตรฐาน
-มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand)
3.การติดตามประเมินผล(C)
จำนวนองค์ความรู้ที่รวบรวมและความพึงพอใจของชาวบ้าน
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
งบประมาณ 40,000 บาท
หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
1.ค่าตอบแทน
2.ค่าใช้สอย
14,000
3.ค่าวัสดุ
26,000
จำนวนเงิน 40,000

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 มิถุนายน 2563

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
. ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชนและ
- นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

งบประมาณ 40,000.00 บาท

ภาคีร่วมสนับสนุน

1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ
3.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง

5. กิจกรรมย่อยที่ 5 การศึกษาดูงานและการทำเวทีคืนความรู้สู่ชุมชน

รายละเอียด

1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
มอบหมายผู้รับผิดชอบ
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
ศึกษาดูงาน
3.การติดตามประเมินผล(C)
ความพึงพอใจของชาวบ้าน
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
งบประมาณ 30,000 บาท
หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
1.ค่าตอบแทน
2.ค่าใช้สอย
30,000
3.ค่าวัสดุ
จำนวนเงิน 30,000

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 กรกฎาคม 2563

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 30 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
. ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตผักอินทรีย์เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชน
- นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

งบประมาณ 30,000.00 บาท

ภาคีร่วมสนับสนุน

1.สำนักงานเกษตรจังหวัด
2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ

6. กิจกรรมย่อยที่ 6 การลงพื้นที่ ติดตาม บ่มเพาะ ให้คำปรึกษาในพื้นที่

รายละเอียด

รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P) ขออนุมัติโครงการ ประชุมเพื่อวางแผน
มอบหมายผู้รับผิดชอบ
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
การลงพื้นที่ ติดตาม บ่มเพาะ ให้คำปรึกษาในพื้นที่
3.การติดตามประเมินผล(C)
ความพึงพอใจของชาวบ้าน
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
วิเคราะห์ผลของการจัดทำกิจกรรมเพื่อนำไปแก้ไขหรือเพิ่มเติมในสิ่งที่ชาวบ้านต้องการ
งบประมาณ 10,000 บาท
หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
1.ค่าตอบแทน
2.ค่าใช้สอย
10,000
3.ค่าวัสดุ
จำนวนเงิน 10,000

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
1.จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมาณ 70 คน จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 20 คน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
. เกิดความเข้มแข็งของการดำเนินโครงการรวมทั้งเสริมสร้างความมั่นใจแก่ชุมชน
- นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

งบประมาณ 10,000.00 บาท

ภาคีร่วมสนับสนุน

1.สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง
2.สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทะ

ระยะเวลาดำเนินการ

ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

งบประมาณ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
จำนวน 300,000.00 บาท รายละเอียดดังในวิธีดำเนินการ/กิจกรรม ด้านบน

ลงชื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)

ตำแหน่ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

วันที่-เดือน-พ.ศ. . . . . . . . . . . . . . . . . . .


ส่วนที่ 2 : ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (สำหรับเจ้าหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายลงรายละเอียด)

ตามมติการประชุมคณะกรรมการ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ครั้งที่ . . . . . . . . . . . / . . . . . . . . . เมื่อวันที่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

อนุมัติงบประมาณ เพื่อสนับสนุนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จำนวน . . . . . . . . . . . . . . บาท
เพราะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ไม่อนุมัติงบประมาณ เพื่อสนับสนุนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
เพราะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

หมายเหตุเพิ่มเติม (ถ้ามี) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ให้รายงานผลความสำเร็จของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแบบฟอร์ม ภายในวันที่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ลงชื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .        

( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)

ตำแหน่ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .          

วันที่-เดือน-พ.ศ. . . . . . . . . . . . . . . . . . .