โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์)

รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์)
ภายใต้โครงการ แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดโคกเมือง (ธรรมโมลีคณานุสรณ์) ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวชมัยพร ทองรอด (0910489539)
พี่เลี้ยงโครงการ วรรณา สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด
งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2561 30 ก.ย. 2562 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00

ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์/หลักการและเหตุผล

เนื่องจากนักเรียนรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ไม่ชอบรับประทานผัก และวัตถุดิบในการประกอบอาหารไม่สามารถควบคุมคุณภาพของผักและเนื้อสัตว์ได้ เนื่องมาจากซื้อมาจากในตลาด ทำให้ไม่ทราบแหล่งผลิตและวิธีการผลิตโดยใช้สารเคมีหรือไม่ ทำให้การบริโภคผักไม่ปลอดภัย

กรอบแนวคิด

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอกับความต้องการ และฝึกให้นักเรียนรับประทานผัก

มีผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหาร

60.00
2 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ในการปลูกพืชผัก

นักเรียนมีประสบการณ์ในการปลูกผัก

85.00
3 เพื่อส่งเสริมการรับประทานอาหารให้ได้โปรตีนจากเนื้อปลา และนักเรียนได้ความรู้

นักเเรียนได้รับความรู้และนำปลามาประกอบอาหารกลางวัน

65.00
4 เพื่อฝึกความรับผิดชอบให้แก่นักเรียน

นักเรียนมีความรับผิดชอบ

80.00
5 เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้ระหว่างเรียน

นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอและต่อเนื่องตลอดปี

50.00
6 เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทาอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายและมีสุขภาพอนามัยที่ดี

นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร

85.00
7 เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการและด้านเกษตรกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมทั้งชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและมีความรู้ด้านเกษตรกรรม

โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนโดยมีชุมชนและหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งมีผลโดยตรงให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี รวมทั้งประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินงานมีสุขภาพพลานามัยที่ดีด้วย

75.00
8 เพื่อให้นักเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโดยการปฏิบัติจริงให้รู้จักวิธีการผลิตอาหาร และความรู้ด้านเกษตรกรรม

สถานศึกษานำเรื่องเกษตรธรรมชาติ อาหารปลอดสารพิษ การอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ และการทำงานเป็นกลุ่มสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ในทุกระดับชั้นตามความเหมาะสม

75.00

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 47
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนในโรงเรียน 47 -

การดำเนินงาน/กิจกรรม

วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
14 - 21 พ.ค. 62 เลี้ยงปลาดุก 7,500.00 -
15 พ.ค. 62 เตรียมดิน/ปลูกผักสวนครัว 3,300.00 10,000.00
รวม 0 10,800.00 1 10,000.00
วิธีดำเนินการ (บรรยายเพิ่มเติม)
  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการสร้างความตระหนักสำนึกในคุณค่าและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยงข้อง แม่ครัว ผู้ปกครอง และนักเรียน เรื่องการบริหารจัดการอาหารตามหลักโภชนาการสมวัยและการนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน
  3. ปลูกผักสวนครัว
  4. เลี้ยงปลาดุก
  5. จัดทำป้ายขอ้มูลสารสนเทศในแหล่งเรียนรู้

งบประมาณใช้จ่ายดังนี้

  1. เลี้ยงปลาในบอซีเมนต์ 1 บ่อ 4*4 เมตร วัสดุที่ใช้

    • อิฐ 240 ก้อน ก้อนละ 6 บาท รวม 1,440 บาท
    • ปูน 8 กระสอบ กระสอบละ 150 บาท รวม 1,200 บาท
    • ทรายหยาบ 1 คิวครึ่ง 450 บาท
    • ทรายละเอียด 1 คิว 700 บาท
    • ท่อพีวีซี 1 เส้น 150 บาท
    • ข้องอ 1 ตัว 20 บาท
    • พันธุ์ปลา 1,000 ตัว ตัวละ 1 บาท รวม 1,000 บาท
    • อาหารปลาเล็ก 540*2 = 1,080 บาท
    • อาหารปลาใหญ่ 420*5 = 2,100 บาท
  2. ปลูกผักสวนครัว

    • ดิน 6 คิว 900 บาท
    • ขี้วัว 10 กระสอบ 400 บาท
    • ขุยมะพร้าว 10 กระสอบ 700 บาท
    • แกลบดำ 10 กระสอบ 800 บาท
    • รำอ่อน 2 กระสอบ 500 บาท
    • อิฐ 36106 = 2,160 บาท
    • ปูน 3 กระสอบ 450 บาท
    • ทรายหยาบ 1 คิว 300 บาท
    • พันธุ์ผักบุ้ง 1,200 บาท
    • มะเขือ 500 บาท
    • คะน้า 350 บาท
    • กวางตุ้ง 350 บาท
    • ผักกาดขาว 300 บาท
    • ปุ๋ย 1,200 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 19,970 บาท

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันให้เด็ก
  • นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร
  • นักเรียนมีประสบการณ์ในการปลูกผัก
  • โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนโดยมีชุมชนและหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งมีผลโดยตรงให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี รวมทั้งประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินงานมีสุขภาพพลานามัยที่ดีด้วย
  • สถานศึกษานำเรื่องเกษตรธรรมชาติ อาหารปลอดสารพิษ การอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ และการทำงานเป็นกลุ่มสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ในทุกระดับชั้นตามความเหมาะสม

เอกสารประกอบโครงการ

ชื่อเอกสารผู้ส่ง
1 ไฟล์ข้อเสนอโครงการ ครั้งที่ 1 (.pdf) wanna

โครงการเข้าสู่ระบบโดย wanna wanna เมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2562 16:12 น.