การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่

บันทึกรายงานกิจกรรมของพื้นที่

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
25 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 18 กันยายน 2562 16:25:41
Project owner
แก้ไขโดย syuwari เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2562 11:47:37 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมสรุปผลการจัดเวทีการกลั่นกรองและการกำหนดขอบเขตโดยสาธารณะ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนตัวชี้วัดและสร้างเครื่องมือในการสำรวจผลกระทบทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมประเมินและคณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ทีมวิจัยวิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำร่างรายงานการประเมินผลกระทบซึ่ง ซึ่งครอบคลุม 1.1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ 1.2 ปัจจัยความสำเร็จ อุปสรรค และโอกาสการพัฒนาโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานและนักวิชาการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมปรึกษาหารือ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ 2 ปัจจัยความสำเร็จ และอุปสรรค และร่างรายงาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 17 กันยายน 2562 11:11:45
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 5 พฤศจิกายน 2562 13:12:56 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีการกลั่นกรองโดยสาธารณะ (public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ กรณีศึกษาโครงการปัจจัยเสี่ยงโซนภาคใต้ตอนบน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) อำเภอคลองท่อมเหนือ จังหวัดกระบี่

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้นำชุมชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณสุขจังหวัด ชาวบ้านในพื้นที่ นักวิชาการ ตัวแทนรพสต. เครือข่ายในพื้นที่

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ทีมวิจัยพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ
  2. ทีมวิจัยวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/ส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ (Stakeholder analysis)
  3. ทีมวิจัย mapping กิจกรรมหลักของโครงการและปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Social Determinant of Health; SDH) ที่ส่งผลกระทบถึงสุขภาวะทั้ง 4 มิติ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 30 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้นำชุมชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณสุขจังหวัด ชาวบ้านในพื้นที่ นักวิชาการ ตัวแทนรพสต. เครือข่ายในพื้นที่

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ในการหาแนวทางการดำเนินงาน ขอบเขต ตัวชี้วัดและวางแผนโครงการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อเสนอแนะและตัวชี้วัดเพิ่มเติมจากพื้นที่ 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 17 กันยายน 2562 11:02:46
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 29 ตุลาคม 2562 10:59:33 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผนการกลั่นกรองโดยสาธารณะ (public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping)

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบจากกิจกรรมของโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิชาการ อาจารย์และนักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ทีมวิจัย วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปผล ผลการทบทวนเอกสาร/โครงการ
  2. ทีมวิจัยคาดการผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการทบทวนเอกสาร/โครงการ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นักวิชาการ อาจารย์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมวิเคราะห์ผลกระทบจากโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทราบข้อมูลสถาพปัญหา และเมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์เกิดการกำกนดตัวชี้วัดการดำเนินการและวางแผนการดำเนินการในอาคต

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ข้อมูลที่ได้บางประเด็นยังไม่ครบถ้วน สมบูรณ์

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 พ.ค. 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยAitsaraAitsaraเมื่อ 17 กันยายน 2562 10:37:27
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 29 ตุลาคม 2562 10:58:05 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผนงานประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโครงการพื้นที่ภาคใต้ตอนบนในโครงการวิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนเอกสาร/โครงการ และวิเคราะห์คาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเบื้องต้น

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน นักวิชาการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำ ตัวแทน รพสต.

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ทีมประเมิน ทำการทบทวนเอกสาร/โครงการ ได้แก่ -โครงการและแผนการดำเนินงาน (Full proposal) -โครงการอื่นๆที่มีลักษณะคล้ายกับโครงการดังกล่าว
  2. ทีมวิจัยคาดการผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเบื้องต้น
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นักวิชาการ ตัวแทนท้องถิ่น โรงพยาบาล และหน่วยงานภาครัฐ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. นำข้อมูล รายละเอียดของแผนงาน/โครงการ มาศึกษา ทบทวนแผนการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อวิเคราะห์ว่ามีผลกระทบใดบ้างที่เกิดขึ้นจากโครงการเดิม หากมีผลกระทบเชิงลบต้องดำเนินการแก้ไขอย่างไร และหากมีผลกระทบเชิงบวกจะดำเนินการอย่างไรให้ดียิ่งขึ้น
  2. focus group แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  3. นำเสนอผลการวิเคราะห์
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดการทบทวนแผนการดำเนินการของโครงการ
  2. คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับบริบทของโครงการ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ศักยภาพของแกนนำ/พี่เลี้ยง
  • ความเข้มแข็งของหน่วยงานในการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-