สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.

วันที่ 12 กรกฎาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
14:00-20:00 นำเสนอการบ้าน หลักสูตรครั้งที่ 1
นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้เข้าร่วมทั้งในห้อง และ ออนไลน์

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-12:30 แนะนำโครงการและทีมวิทยากร/กิจกรรมแนะนำตัว/กิจกรรมทบทวนก่อนการปฏิบัติ BAR (Before Action Review)/ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้
กระบวนการในการจัดการความรู้
- การรวบรวมความรู้
- การใช้ความรู้
- การเพิ่มคุณค่าความรู้
- การแบ่งปันความรู้
- การเข้าถึงความรู้
- การสร้างและการคงไว้ของความรู้
- การถาม-ตอบ ตามประเด็นชวนคิด
- อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
- ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
13:00-15:00 กรณีศึกษา แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (case study of Best Practice)
- ตัวอย่างการจัดการความรู้ โดยวิทยากรรับเชิญ
- รับฟังเรื่องเล่า (Story Telling)
- แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
- การบริหารและจัดการความรู้จากผู้ปฏิบัติงานจริง
วิทยากรรับเชิญ
- คุณนันทพงค์ นาคฤทธิ์
- ประธานเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยวอ่าวลึก กระบี่

ผู้ร่วมเสวนา
- ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
- ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
- คุณวัลภา ฐาน์กาญจน์
15:00-15:30 KM Workshop 1 การเขียนเรื่องเล่า(Story Telling)
โดยการเขียนเรื่องเล่า (Story Telling) จากการฟัง เปลี่ยน TK เป็น EK โดยรายละเอียดของเรื่องเล่ามีดังนี้
1. ตั้งชื่อเรื่องให้น่าสนใจ
2. นามปากกา
3. เล่าเรื่องจริง
4. เขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
5. เขียนสิ่งที่สามารถต่อยอด และนำไปปฏิบัติได้ในงานของตนเอง
ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติทุกคนห้องใหญ่ (รวมทั้ง online และ offline)
15:30-16:00 นำเสนอผลจาก workshop 1 / กิจกรรมตรวจสอบความคาดหวัง AAR (After Action Review)
- ปฏิบัติได้ในงานของตนเอง
- สุ่มผู้นำเสนอ
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์

วันที่ 14 กรกฎาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-10:00 การถอดบทเรียน (Lesson Learned) / การฟังอย่างตั้งใจ (Deep Listening)
- หลักการถอดบทเรียน เพื่อหาความรู้ด้านสุขภาวะ
- การฟังอย่างตั้งใจ
- ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
- อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
10:00-12:00 KM Workshop 2 / ถอดบทเรียนโครงการของตนเอง
ถอดบทเรียนโครงการหรือกิจกรรมในโครงการของตนเอง ผู้เข้าร่วมอบรม แบ่งกลุ่มตามโครงการฝึกปฏิบัติ การถอดบทเรียนจากโครงการ เพื่อตอบคำถาม Q1 Q2 และ Q3 ดังนี้

Q1 : สภาพความสำเร็จของโครงการนี้เป็นอย่างไร
Q1.1 เป้าหมายของโครงการคืออะไร
Q1.2 ผลที่เกิดขึ้นจริงเป็นอย่างไร

Q2 : ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
Q2.1 หาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร
Q2.2 ควรวิเคราะห์สาเหตุ/ปัจจัยให้ครอบคลุม วิเคราะห์สาเหตุ/ปัจจัย/เงื่อนไข ทั้ง +และ-

Q3 ข้อเสนอแนะหากต้องทำโครงการนี้อีก (ข้อเสนอแนะต้องเจาะจง ปฏิบัติได้ : Specific Actionable Recommendations : SARs : ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร) (Improve Project Plan)
การถาม-ตอบ ตามประเด็นชวนคิด อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่ม offline : จำนวน 13 กลุ่ม
- ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
- ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์)

กลุ่ม online : จำนวน 3 กลุ่ม
- อ.ดร.เพ็ญ สุขมาก
- อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
- ผศ.ดร.ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา)
13:00-14:00 KM Workshop 2 (ต่อ)
เตรียมสรุป นำเสนอผล workshop (ตามใบงาน WS2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้
14:00-16:00 นำเสนอผลจาก workshop 2 กิจกรรมตรวจสอบความคาดหวัง AAR (After Action Review)
สุ่มกลุ่มที่จะเตรียมนำเสนอ ในแต่ละประเด็น (4 ประเด็น)กลุ่มๆละ 30 นาที
ซักถาม แลกเปลี่ยนความเห็น
ห้องใหญ่ (รวมทั้ง online และ offline)
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์

วันที่ 15 กรกฎาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-10:30 KM Workshop 3 แผนการการจัดการความรู้
Q4 แผนการการจัดการความรู้
- การรวบรวมความรู้
- การใช้ความรู้
- การเพิ่มคุณค่าความรู้
- การแบ่งปันความรู้
- การเข้าถึงความรู้
- การสร้างและการคงไว้ของความรู้
กลุ่ม offline : จำนวน 13 กลุ่ม
1. ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
2. ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์

กลุ่ม online : จำนวน 3 กลุ่ม
1. อ.ดร.เพ็ญ สุขมาก
2. อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
3. ผศ.ดร.ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา
10:30-11:30 นำเสนอผลจาก workshop 3
สุ่มกลุ่มที่จะเตรียมนำเสนอ กลุ่มๆละ15 นาที ซักถาม แลกเปลี่ยนความเห็น
ห้องใหญ่ (รวมทั้ง online และ offline)
11:30-11:40 KM Workshop 4
Q5 หาองค์ความรู้ใหม่
1. หาองค์ความรู้ใหม่
2. Present วันที่ 9 สิงหาคม 2563
3. เวลา 13.00 – 17.00 น.

Q5 หาองค์ความรู้ใหม่ของกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับประเด็น (A, B, C, หรือ D) เพื่อใช้ในการทำสื่อต่อไป
Present ครั้งถัดไป

สุ่มกลุ่มที่จะนำเสนอ ในแต่ละประเด็น (4 ประเด็น) กลุ่มๆละ 20 นาที ทั้ง Online และ Offline
11:40-12:00 อภิปราย สรุปผลการประชุม กิจกรรมตรวจสอบความคาดหวัง AAR (After Action Review)
- ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
- อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์

วันที่ 16 สิงหาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
13:00-16:00 ทบทวน และ ชี้แจงรายละเอียด การอบรม
- ทบทวน และ ชี้แจงรายละเอียด การอบรม
- post_addทดสอบก่อนเรียน

บรรยาย
ทีมวิทยากร

วันที่ 17 สิงหาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-09:15 กิจกรรมทำความรู้จักกัน
กิจกรรมบันเทิง
- คุณพัชรกัญญ์ ยังปากน้ำ
- คุณศราวุธ จาวิสูตร
09:30-10:35 จับประเด็นมาเป็นสาร
2. จับประเด็นมาเป็นสาร
2.1 การสื่อสารสุขภาวะ DO/DON’T
บรรยาย concept การสื่อสารสุขภาพ และชมตัวอย่างความสำเร็จและความล้มเหลวของการสื่อสารสุขภาพ
2.2 ขั้นตอนการค้นหาประเด็นเพื่อสื่อสารสุขภาวะ โดยใช้หลักการรณรงค์ด้านการสื่อสารสุขภาพ
บรรยายพร้อมภาพประกอบ
โครงการรณรงค์การสื่อสารสุขภาวะ
3. ปลุกพลังการเล่าเรื่องเพื่อสร้างสารผ่านนักสื่อสารสุขภาวะ (Power of Storytelling)
4. Storytelling Canvas คืออะไร ใช้อย่างไรให้เวิร์ก
4.1 ไอเดียการหาเรื่องเล่า/สามเหลี่ยมเรื่องเล่า
4.2 Storytelling Canvas
5. Case study storytelling: วิเคราะห์การวางเรื่องเล่าผ่านเพจสุขภาพและสินค้าสุขภาพของไทย
6. การคิดสร้างสรรค์ในงานสื่อสาร (Creative Thinking in Communication)
หลักการออกแบบสารเพื่อการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ กระบวนการ/แนวทางการคิดเพื่อการออกสารเพื่อการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ (How to storytelling?)
7. กรณีตัวอย่าง การคิดเพื่อการออกแบบสารเพื่อการสื่อสาร
- บรรยาย
- อภิปราย แลกเปลี่ยน
- ตัวอย่าง
- ดร.อาทิตยา สมโลก
- ผศ.สุวนาถ ทองสองยอด
12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00-16:00 การผลิตสื่อออนไลน์เพื่อการเปลี่ยนแปลงในระดับต่าง ๆ ได้
8. การผลิตสื่อออนไลน์เพื่อการเปลี่ยนแปลงในระดับต่าง ๆ ได้
8.1 การใช้ Smartphone เพื่อสร้างภาพ และ ทำ Text Quote
8.2 โชว์ผลงาน Text Quote ของผู้เข้าร่วมอบรม


บรรยาย มี 3 หัวข้อหลัก คือ
1. หลักและเทคนิคการถ่ายภาพ จากมือถือที่ทุกคนต้องรู้
2. 10 ภาพสร้างเรื่องเรา ให้กลายเป็นเรื่องเล่า ที่ทุกคนอยากบอก
3. ทำ Text Quote จาก แอพลิเคชั่น Snapseed ที่ทุกคนต้องมี
- ฝึกปฏิบัติการถ่ายภาพตามหลัก การและเทคนิคที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมต้องเตรียมมา
ดาว์นโหลดแอพลิเคชัน Snapseed ลงในโทรศัพท์มือถือ
- ให้แต่ละกลุ่ม วิเคราะห์ งาน โครงการที่แต่ละกลุ่มทำในพื้นที่ ตามแนวคำถาม
- วิเคราะห์งาน ตาม Ottawa
- ใบงาน ที่ 1-2
- ผศ.จารียา อรรถอนุชิต

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-17:00 การผลิตคลิปสั้นสำหรับการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง
บรรยายและตัวอย่างคลิปสั้น
การตัดต่อคลิปง่ายๆ ด้วยแอปพลิเคชัน KineMaster”
ไอเดียสร้างสรรค์ ผลิตคลิปสั้นยังไงให้โดน”
ฝึกปฏิบัติการผลิตคลิปสั้น 1 นาที หัวข้อ “เรื่องดี๊ดีที่อยากเล่า”
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมต้องเตรียมมา
ดาว์นโหลดแอปพลิเคชัน Kine Master ลงในโทรศัพท์มือถือ
ถ่ายภาพวิดีโอเปิดเรื่องและปิดเรื่อง เล่าเรื่องชุมชน ภายใต้หัวข้อ “เรื่องดี๊ดีที่อยากเล่า” แบ่งเป็น 2 คลิป ความยาวคลิปละ 30 วินาที
ถ่ายภาพวิดีโอประกอบ เช่น บรรยากาศ กิจกรรมที่ทำ ผลงาน สัมภาษณ์แนวคิด ความรู้สึก ฯลฯ ความยาว 15-30 วินาที ประมาณ 3-5 คลิป
* สำหรับผู้เข้าอบรมที่ไม่ได้เตรียมมาให้ถ่ายภาพ/เสียงในห้องบรรยาย
- บรรยาย
- กรณีศึกษา
- อภิปราย
- กิจกรรมกลุ่ม
- อาจารย์ปวิชญา ชนะการณ์
คุณชวนิทธิ์ ธนะสุข

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-12:00 นำเสนอโครงการรณรงค์การสื่อสารสุขภาพ
ผู้เข้าร่วมอบรมนำเสนอโครงการรณรงค์การสื่อสารสุขภาพ และรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมวิทยากร และมอบรางวัลผลงานดีเด่นประเภทต่าง ๆ

นำเสนอและทีมวิทยากรให้ข้อเสนอแนะ
- บรรยาย
- กรณีศึกษา
- อภิปราย
- กิจกรรมกลุ่ม
- อาจารย์ปวิชญา ชนะการณ์
- ผศ.สุวนาถ ทองสองยอด
- ดร.อาทิตยา สมโลก
- ผศ.จารียา อรรถอนุชิต
- คุณชวนิทธิ์ ธนะสุข
- คุณพัชรกัญญ์ ยังปากน้ำ

วันที่ 23 กันยายน 2563

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-16:00 การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงสังคม: จากการพัฒนาตนเอง สู่การพัฒนาทีมและสังคม

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
13:00-15:00 ชี้แจงรายละเอียดโครงการ และกระบวนการอบรมตลอดหลักสูตร
- ลงทะเบียน
- ชี้แจงรายละเอียดโครงการ และกระบวนการอบรมตลอดหลักสูตร
- มอบหมายงานเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564
ดร.เพ็ญ สุขมาก สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ.หาดใหญ่

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-09:30 แนวคิดพื้นฐานการพัฒนาสังคมกับการสร้างเสริมสุขภาวะ
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาสังคม social megatrends เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
ดร.เพ็ญ สุขมาก สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ.หาดใหญ่
09:30-11:00 เรียนรู้จากกรณีศึกษาบ้านหูยานเป้าหมายการพัฒนาเพื่อสุขภาวะของบ้านหูยาน ตำบลนาท่อม
เรียนรู้จากกรณีศึกษาบ้านหูยานเป้าหมายการพัฒนาเพื่อสุขภาวะของบ้านหูยาน ตำบลนาท่อมในประเด็น
- ระบบสุขภาพ
- กรอบแนวคิดเรื่องสุขภาพ
- ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
- กฏบัตรออตตาวา ชาร์เตอร์
11:00-12:00 ปฏิบัติการกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรมวิเคราะห์ โครงการของตนเองตามใบงานที่มอบหมาย
ปฏิบัติการกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรมวิเคราะห์ โครงการของตนเองตามใบงานที่มอบหมาย (ใบงาน ที่ 1-2)
ดร.เพ็ญ สุขมาก และทีมวิทยากร
12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00-14:30 กลุ่มนำเสนอ ผลการวิเคราะห์โครงการ แลกเปลี่ยน ให้ความเห็นและวิพากษ์โดยทีมวิทยากร
ดร. เพ็ญ สุขมาก และทีมวิทยากร
14:30-15:30 เรียนรู้บทเรียนการผลักดันนโยบายทางสังคมกับการขับเคลื่อนและจัดการชุมชนเพื่อสุขภาวะ

วันที่ 8 มีนาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-09:30 หลักการ แนวคิดและภาพเชิงระบบการบริหารจัดการ
ผศ ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และทีมวิทยากร
09:30-11:00 การจัดการเชิงกลยุทธ์สุขภาวะ
การวิเคราะห์สถานการณ์ วิเคราะห์ปัจจัยเอื้อและปัจจัยที่เป็นอุปสรรค
การสร้างฉากทัศน์ วางภาพอนาคต วางจุดหมาย วางเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดที่สำคัญ
การวิเคราะห์ สร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ การแปลง ยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติการ
ผศ ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
11:00-12:00 การพัฒนาข้อเสนอโครงการด้านสุขภาวะ
การเขียนโครงการ สร้างกิจกรรมตามแผน
ผศ ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00-15:00 การวางแผนและบริหารโครงการ
การบริหารจัดการโครงการให้บรรลุผลสำเร็จ ทั้งการจัดหาปัจจัยนำเข้า การจัดกระบวนการ การได้ผลผลิต ผลลัพธ์ และสร้างผลกระทบเชิงบวก
ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
15:00-17:00 การวัดและติดตามประเมินผลสำเร็จโครงการ และการถอดบทเรียน
ระบบการติดตาม และ การประเมินผลโครงการ เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาและต่อยอดต่อไป
ผศ ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ

วันที่ 15 มีนาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-09:30 สรุปภาพรวมหลักสูตรการสร้างสุขภาพและการบริหารโครงการสุขภาวะ
ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
ดร.เพ็ญ สุขมาก
สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ.หาดใหญ่
09:30-10:00 นำเสนอการบ้านการเขียนแผนยุทธศาสตร์เป็น Housing Model
ทีมภาคีผู้เข้าร่วมแต่ละจังหวัด
10:00-11:15 บทบาทและแนวคิดขององค์กรสร้างเสริมสุขภาวะแบบ สสส.
• องค์กรสร้างเสริมสุขภาวะแบบ สสส.
- บทบาทของ สสส. ในระบบสุขภาพ
ประเทศไทย
- แนวคิดการทำงานสร้างเสริมสุขภาพของ
สสส. และตัวแบบการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบ สสส. (ThaiHealth Working Model)
- ตัวอย่างกรณีศึกษาความสำเร็จในการ
ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพที่ผ่านมาของ
สสส.
- บทบาทของ สสส. กับสถานการณ์โควิด-19 ที่ผ่านมา และอนาคต
ดร.ณัฐพันธ์ ศุภกา
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์
11:30-12:00 แลกเปลี่ยนข้อซักถาม ระหว่างผู้เข้าร่วมและวิทยากร
ผู้เข้าร่วม และทีมวิทยากร
12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00-14:30 นำเสนอ แนวทางการเขียนโครงการของแต่ละทีม แลกเปลี่ยน ให้ความเห็นและวิพากษ์โดยทีมวิทยากร
ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
ดร. เพ็ญ สุขมาก
14:45-16:15 ระบบการติดตาม และ การประเมินผลโครงการ เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาและต่อยอดต่อไป
ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
ดร. เพ็ญ สุขมาก

วันที่ 27 เมษายน 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-10:00 การนำเสนอและสรุปเนื้อหา Module 1
อ.ดร.เพ็ญ สุขมาก
10:00-10:15 แนะนำโครงการและทีมวิทยากร การจัดการความรู้ กิจกรรมแนะนำตัว ใบงาน KM 1 รู้จักกันสักนิด
ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
10:15-10:30 กิจกรรมทบทวนก่อนการปฏิบัติ BAR (Before Action Review) ใบงาน KM 2 ทบทวนก่อนการปฏิบัติ
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
10:30-12:00 กระบวนการจัดการความรู้
กระบวนการในการจัดการความรู้
• การรวบรวมความรู้
• การใช้ความรู้
• การเพิ่มคุณค่าความรู้
• การแบ่งปันความรู้
• การเข้าถึงความรู้
• การสร้างและการคงไว้ของความรู้
การถาม-ตอบ ตามประเด็นชวนคิด
ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
13:00-14:30 การเสวนา กรณีศึกษา แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Case study of Best Practice)
ตัวอย่างการจัดการความรู้ โดยวิทยากรรับเชิญ
รับฟังเรื่องเล่า (Story Telling)
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
การบริหารและจัดการความรู้จากผู้ปฏิบัติงานจริง
วิทยากรรับเชิญ
คุณนันทพงค์ นาคฤทธิ์
ประธานเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยวอ่าวลึก กระบี่
ผู้ร่วมเสวนา
ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
14:30-15:00 KM Workshop การเขียนเรื่องเล่า (Story Telling) ใบงาน KM 3 การเขียนเรื่องเล่า นำเสนอผลจาก workshop
โดยการเขียนเรื่องเล่า (Story Telling) จากการฟัง เปลี่ยน TK เป็นEK
รายละเอียดของเรื่องเล่ามีดังนี้
1. ตั้งชื่อเรื่องให้น่าสนใจ
2. นามปากกา
3. เล่าเรื่องจริง
4. เขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้เพิ่มเติม
5.เขียนสิ่งที่สามารถต่อยอด และนำไปปฏิบัติได้ในงานของตนเอง
สุ่มผู้นำเสนอ
ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติทุกคน
15:00-15:40 การฟังอย่างตั้งใจ
การฟังอย่างตั้งใจ
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
15:40-16:00 กิจกรรมการทบทวนหลังการปฎิบัติ AAR (After Action Review) ใบงาน KM 4 การทบทวนหลังการปฎิบัติ
สุ่มผู้นำเสนอ
ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติทุกคน
อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์

วันที่ 28 เมษายน 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-10:00 การถอดบทเรียน (Lesson Learned)
หลักการถอดบทเรียน เพื่อหาความรู้ด้านสุขภาวะ
ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
10:30-12:00 การบรรยายจาก วิทยากรรับเชิญ
การถอดบทเรียน ในการสร้างเสริมสุขภาวะ
วิทยากรรับเชิญ
คุณสุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ ดำเนินรายการ คนค้นตน และเป็นผู้บริหารในบริษัท ทีวีบูรพา
13:00-14:00 ถอดบทเรียนโครงการหรือกิจกรรมในโครงการของตนเอง ใบงาน KM 5 การถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนโครงการหรือกิจกรรมในโครงการของตนเอง
ผู้เข้าร่วมอบรม แบ่งกลุ่มตามโครงการ
ฝึกปฏิบัติ การถอดบทเรียนจากโครงการ เพื่อตอบคำถาม Q1 Q2 และ Q3 ดังนี้
Q1 : สภาพความสำเร็จของโครงการนี้เป็นอย่างไร
Q1.1 เป้าหมายของโครงการคืออะไร
Q1.2 ผลที่เกิดขึ้นจริงเป็นอย่างไร
Q2 : ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
Q2.1 หาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร
Q2.2 ควรวิเคราะห์สาเหตุ/ปัจจัยให้ครอบคลุม
วิเคราะห์สาเหตุ/ปัจจัย/เงื่อนไข ทั้ง +และ-
Q3 ข้อเสนอแนะหากต้องทำโครงการนี้อีก (ข้อเสนอแนะต้องเจาะจง ปฏิบัติได้ : Specific Actionable Recommendations : SARs
: ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร)
(Improve Project Plan)
การถาม-ตอบ ตามประเด็นชวนคิด
อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
1. ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
2. ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
3. อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
4. อ.ดร.เพ็ญ สุขมาก
5. ผศ.ดร.ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา
14:00-14:30 นำเสนอผลจาก workshop
สุ่มกลุ่มที่จะเตรียมนำเสนอ กลุ่มๆละ 5-10 นาที
ซักถาม แลกเปลี่ยนความเห็น
ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
14:30-15:00 KM Workshop 3 แผนการการจัดการความรู้ ใบงาน KM 6 แผนการการจัดการความรู้
แผนการการจัดการความรู้
• การรวบรวมความรู้
• การใช้ความรู้
• การเพิ่มคุณค่าความรู้
• การแบ่งปันความรู้
• การเข้าถึงความรู้
• การสร้างและการคงไว้ของความรู้
1. ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
2. ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
3. อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์
4. อ.ดร.เพ็ญ สุขมาก
5. ผศ.ดร.ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา
15:00-15:20 นำเสนอผลจาก workshop แผนการการจัดการความรู้
สุ่มกลุ่มที่จะเตรียมนำเสนอ กลุ่มๆละ 5-10 นาที
ซักถาม แลกเปลี่ยนความเห็น
ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์
15:20-15:40 KM Workshop • การหาองค์ความรู้ใหม่ ใบงาน KM 7 การหาองค์ความรู้ใหม่
Present ครั้งถัดไป
15:40-16:00 กิจกรรมการทบทวนหลังการปฎิบัติ AAR (After Action Review) ใบงาน KM 4 การทบทวนหลังการปฎิบัติ
สุ่มผู้นำเสนอ
ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติทุกคน

อ.วัลภา ฐาน์กาญจน์

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-10:00 นำเสนอการบ้านหลักสูตรการจัดการความรู้(KM)
ผศ.ดร.วิภาดา เวชประสิทธิ์
รศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา
อาจารย์วัลภา ฐาน์กาญจน์
10:00-16:30 เนื้อหาหลักสูตรหลักสูตรการสื่อสารเพื่อสังคมสุขภาวะ
ภูมิทัศน์สื่อ การสื่อสาร และสื่อสังคมออนไลน์
ความเข้าใจเรื่องการสื่อสารเพื่อส่งเสริมสุขภาวะ
กลุ่มเป้าหมายในการสื่อสารเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในเชิงสุขภาวะ
กลยุทธ์และการวางแผนสื่อ และการสื่อสาร workshop การออกแบบการสื่อสาร
ดร.ปรัชญา เปี่ยมการุณ
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วันที่ 2 มิถุนายน 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-16:30 เนื้อหาหลักสูตรหลักสูตรการสื่อสารเพื่อสังคมสุขภาวะ
การประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อสร้างเนื้อหาและการสื่อสาร DATA driven communication
พื้นฐานเรื่องเครื่องมือการผลิต และสร้างสรรค์สื่อด้วยตนเองพร้อมกิจกรรม workshop
นำเสนอเนื้อหา และผลงานสื่อ และเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
สรุปการเรียนรู้ และการรู้เท่าทันสื่อในเชิงสุขภาวะ
ผศ.ดร.จารุวัส หนูทอง
ดร.ปรัชญา เปี่ยมการุณ
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วันที่ 6 กรกฎาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
08:30-09:00 รายละเอียดหลักสูตรและเป้าหมายการเรียนรู้เพื่อการทำงานร่วมกันในการเปลี่ยนแปลงสังคม
 Check in ชี้แจงเป้าหมาย ภาวะผู้นำ การสร้าง
เครือข่าย เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม
 เขียนเป้าหมายที่อยากจะเรียนรู้ใน 2 วันนี้ เพื่อ
การทำงานร่วมกันในการเปลี่ยนแปลงสังคม ผ่าน Menti meter
09:00-10:00 การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholders Analysis
 สื่อ PPT การวาดผังเครือข่ายโดยใช้ ภาพ/
โปรแกรม mind map
ใบงาน 1: การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย งานกลุ่ม (ออนไลน์ 1-2 กลุ่ม เดี่ยว 30 คน) 20 นาที
1) ฝึกวิเคราะห์คน กลุ่ม องค์กรที่เกี่ยวข้องในประเด็น
ของตนเองโดยใช้ตารางวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (10 นาที)
2) สุ่มนำเสนอการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 คนๆ
ละ 3 นาที (10 นาที)
10:00-11:00 แบ่งปัน เรียนรู้ประสบการณ์ การสร้างและบริหารเครือข่ายการทำงานพื้นที่ และภาวะผู้นำที่ต้องมี โดย นายกเทศมนตรีนครยะลา วิทยากร: คุณพงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ
 ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายถอดบทเรียน SHARE and LEARN
 Story telling
ใบงาน 2: ถอดบทเรียนการสร้างและการบริหารเครือข่าย และภาวะผู้นำในการเปลี่ยนแปลงสังคม ในประเด็น
1) การดึงคน กลุ่มคน ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วม
พัฒนา สร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นกับเทศบาลเมืองยะลา จนได้รับรางวัลระดับประเทศ
2) บริหารงานให้ภาคีเครือข่ายเหล่านี้ยังคงทำงาน
ร่วมกันอยู่
3) ภาวะผู้นำอะไรบ้างที่จำเป็นต้องนำมาใช้ในการ
ทำงานกับภาคีเครือข่ายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
11:00-12:00 ผังเครือข่าย Social network mapping 4 ประเด็น
 สุ่มนำเสนอ (3 คน ๆ ละ 3 นาที) และร่วมแสดง
ความเห็น (20 นาที)
 สรุปประเด็นการสร้างและบริหารเครือข่าย
 PPT การสร้างเครือข่าย
ใบงาน 3: วาดผังเครือข่าย ทุนทางสังคมของประเด็นตัวเอง (20 นาที) จากที่วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในช่วงเช้า ให้นำมาวาดผังเครือข่ายของประเด็นตนเอง (ประเด็นร่วม ข้ามพื้นที่) (1) ให้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และ (2) วางแผนสร้างเครือข่าย
 สุ่มนำเสนอ 3 กลุ่ม ๆ ละ 5 นาที (20 นาที)
13:00-14:30 ผังเครือข่าย Social Network Mapping ข้ามประเด็น ข้ามเครือข่าย ในจังหวัด
สื่อ PPT
ใบงาน 4: ผังเครือข่ายข้ามประเด็น จากผังเครือข่าย ทุนทางสังคมของประเด็นตัวเอง ให้วาดผังเครือข่ายข้ามประเด็น ข้ามเครือข่าย ในจังหวัด
14:30-16:30 วางแผนการสร้างเครือข่ายการทำงานในจังหวัดและการสร้างและบริหารเครือข่ายการทำงานในจังหวัด
ใบงาน 5: วางแผนการสร้างเครือข่ายในพื้นที่ร่วมกัน โดยใช้ตาราง (20 นาที)
นำเสนอการวางแผนตามจังหวัด/เขต กลุ่ม ๆ ละ 7 นาที (40 นาที) เติมเต็มอย่างสร้างสรรค์โดยกัลยาณมิตร

วันที่ 7 กรกฎาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
08:30-09:00 เช็คอินเข้าเรียน
09:00-09:30 สรุป ประสบการณ์ภาวะผู้นำ
แลกเปลี่ยน ตามใบงาน 1 ประสบการณ์ผู้นำ (6
กค 64) ประเด็นย่อย:
- ภาวะผู้นำที่สำคัญ
- การพัฒนาตนเองให้มีภาวะผู้นำ
- การพัฒนาภาวะผู้นำของบุคคลอื่น/ ทีมนำ
09:30-10:30 การกำหนดเป้าหมายการทำงาน
ใบงาน 6: Time line การทำงาน
- เขียนเป้าหมายของตนเองในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม/ งานที่ทำ (30 นาที)
- แลกเปลี่ยนเป้าหมาย (30 นาที)
10:45-11:15 มองตน รู้จัก การประเมิน/ ตรวจสอบนิสัยของตนเอง
ใบงาน 7: ประเมิน 7 habits
ใบงาน 8: radar chart (ให้ทุกคนเตรียม
print/ วาดเป็นภาพ/ print ล่วงหน้า เตรียมสี) (15 นาที)
- ตัวแทนนำเสนออุปนิสัยของของตนเอง ตาม
Radar Chart (15 นาที)
- สรุป 15 นาที
11:30-12:00 การประเมินตนเองผ่านมุมมองของผู้อื่น
ใบงาน 9: หน้าต่าง 3 บาน (20 นาที)
- Share & learn สรุปการเรียนรู้ (10 นาที)
13:00-13:15 สรุปผลการรู้จักตนเอง จุดเด่นที่มีอยู่-สิ่งที่ควรพัฒนา
แลกเปลี่ยน (15 นาที)
13:15-14:30 การคิดเชิงระบบ
ใบงาน 10 ถอดบทเรียนการคิดเชิงระบบ
-ดูคลิปวิโอกรณีศึกษา: สังคมสุขภาวะหูยาน (25
นาที)
-ให้ทำกิจกรรมคิดเชิงระบบจากกรณีศึกษาฯ (30
นาที)
-สื่อ PPT
-แลกเปลี่ยนการเรียนรู้และสรุปหลักการ (20
นาที)
14:30-14:45 ทักษะภาวะผู้นำอื่น ๆ เช่น การทำงานเป็นทีม การคิดสร่างสรรค์
 ดูคลิปวิดีโอเรื่องมด 2 ตอน (10 นาที)
 แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ และสะท้อนความจำเป็นที่
ต้องพัฒนาทักษะผู้นำ (20 นาที)
14:40-15:30 การเจรจาต่อรอง
-ให้เล่าประสบการณ์การเจรจาต่อรองในการ
ทำโครงการ เช่น นำเสนอฯ เพื่อของบประมาณ การขอความร่วมมือ(15 นาที)
-สื่อ PPT
-แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ การนำไปใช้ และสรุปโดย
การ์ตูน (15 นาที)
15:30-16:15 การสร้างพลังอำนาจ
-ให้เล่าประสบการณ์/ วิธีการในการสร้างแรง
บันดาลใจ สร้างพลังในการทำงานให้ตนเองและผู้ร่วมงาน (30 นาที)
-สื่อ PPT
-แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ การนำไปใช้ และสรุปโดย
การ์ตูน (15 นาที)
16:15-16:45 สะท้อนคิดเนื้อหาภาวะผู้นำและการบริหาร เครือข่ายด้านสุขภาวะเชื่อมโยงกับการสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคลและสังคม
สะท้อนคิดเนื้อหาภาวะผู้นำและการบริหาร
เครือข่ายด้านสุขภาวะเชื่อมโยงกับการสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคลและสังคม (Social Change) โดยใช้ Model of Leadership Development ที่สะท้อน 7 ค่านิยมหลัก คือ ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง (Consciousness of Self) ความ สอดคล้องในตนเอง (Congruence) การยึดมั่น (Commitment) ความร่วมมือ (Collaboration) การมีเป้าหมายร่วมกัน (Common Purpose) การเห็นต่างอย่างมีไมตรี (Controversy with Civility) และความเป็นพลเมือง (Citizenship)

วันที่ 24 สิงหาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
08:00-08:30 สมาชิกเช็คอินเข้าห้องเรียน
08:30-09:00 สรุปการจัดหลักสูตรที่ผ่านมาและภาพรวมหลักสูตรการบริหารจัดการความยั่งยืน
บรรยาย
อภิปรายแลกเปลี่ยน
ตัวอย่าง
ดร.เพ็ญ สุขมาก
09:00-11:00 หลักการ แนวคิด ความยั่งยืนในมิติ
• เศรษฐกิจการเงินงบประมาณ
• การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• สังคม วัฒนธรรม
• สุขภาพ
• กระบวนการการจัดการนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งระดับสากล ประเทศไทย ภาคใต้
ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
11:00-12:00 การบริหารจัดการความยั่งยืน
บรรยาย
ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00-15:00 กลุ่มปฏิบัติการพัฒนาตัวชี้วัด เครื่องมือความยั่งยืน
เศรษฐกิจการเงินงบประมาณ
การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สังคม วัฒนธรรม
สุขภาพ
ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
และทีมวิทยากร
15:00-17:00 นำเสนอผลการประชุม
นำเสนอผลการประชุมกลุ่มปฏิบัติการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ได้ตัวชี้วัดที่จะนำไปวัดความยั่งยืน กรณีเทศบาลตำบลปริก

วันที่ 25 สิงหาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
08:00-12:00 ทิศทางการพัฒนาที่ยังยืนในภาวะปกติใหม่ (New Normal)
บรรยาย
ศ.สุริชัย หวันแก้ว
ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.สุชาดา จันทร์พรหมมา
คณะวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์

ดร. สินาด ตรีวรรณไชย
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
12:00-13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:01-17:00 ปฏิบัติการกลุ่มเพื่อเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลตามตัวชี้วัดที่กำหนด
สอบถาม
สัมภาษณ์
ทีมวิทยากรในพื้นที่ (เทศบาลตำบลปริก)

วันที่ 26 สิงหาคม 2564

เวลากิจกรรม/เนื้อหาวิธีการผู้รับผิดชอบ/วิทยากร
09:00-12:00 นำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อมูล
นำเสนอข้อมูลที่ได้จากปฏิบัติการกลุ่ม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้/เสนอแนะ
 ทีมผู้เรียน
 คุณสุริยา ยีขุน
นายกเทศมตรีตำบลปริก
และคณะ