โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์) ”

ม.2 ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางกัญจน์ชญา คงศรี (0922422996)

ชื่อโครงการ โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์)

ที่อยู่ ม.2 ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.2 ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.2 ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ไกล มีฐานยากจน ภาวการณ์เจริญเติบโตของนักเรียนในปีการศึกษา 2561 นักเรียนอยู่ในภาวะเตี้ย ค่อนข้างเตี้ย ร้อยละ 2.65 ในปีการศึกษา 2561 การดำเนินการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียนดำเนินการโดยทำสัญญาจ้างแม่ครัวมาประกอบอาหารให้นักเรียนวันละ3คนๆละ500บาท โดยโรงเรียนเป็นผู้จัดหาวัตถุดิบในการปรุงอาหาร โดยการซื้อหานำผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนมาประกอบอาหารบ้างเพื่อแก้ปัญหาอาหารกลางวันของนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนมีความรู้ และ ทักษะพื้นฐานในการ ดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
  2. เพื่อให้นักเรียนได้สืบสานและห่วงแหน วัฒนธรรมการเกษตรที่ กำลังจะสูญหาย
  3. เพื่อนำหลักการทางการเกษตรตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการ การเรียนการสอนรู้ในสถานศึกษา
  4. เพื่อเกิดแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษาและประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เก็บผักสวนครัว /ผักปลอดสารพิษ และไข่ไก่ ส่งโครงการอาหารกลางวัน
  2. กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่
  3. ทำแปลงผัก ้ด้วยอิฐบล็อก /ปลูกผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มยุวเกษตร นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 94

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่

วันที่ 7 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมโรงเรือนสำหรับเลี้ยงไก่ไข จำนวน 1โรงเรือนโดยนักเรียนชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา จำนวน.....313.......คน ช่วยกันทำความสะอาดโรงเรือน

2.ซื้อไก่ไข่อายุ 45 วัน จำนวน.......50.....ตัว พร้อมทั้งอุปกรณ์ในการเลี้ยง เช่น รางน้ำไก่ รางอาหาร จำนวน.....5......ชุด

3.แบ่งนักเรียน จำนวน....5....คน ในการรับผิดชอบเลี้ยงไก่ เช่น การทำความสะอาดกรง การให้น้ำ อาหารไก่5

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีไก่ไข่พร้อมไข่ จำนวน...50.......ตัว
2.นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการดูแลเลี้ยงไก่ไข่ได้

3.ไข่ที่ได้จากการเลี้ยงนำไปขายให้กับสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนแล้วโครงการอาหารกลางวันซื้อไข่มาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

4.นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ

5.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดสารพิษ

6.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถแนะนำผู้อื่นได้

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

2. ทำแปลงผัก ้ด้วยอิฐบล็อก /ปลูกผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ

วันที่ 8 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา จำนวน....313........คน เตรียมก่ออิฐบล็อกเป็นแปลงสำหรับปลูกผัก จำนวน 10 แปลง

2.เตรียมดินร่วนและปุ๋ยอินทรีย์เพื่อผสมก่อนนำไปใส่ในแปลงปลูก

3.นักเรียนช่วยกันนำเมล็ดพันธุ์ผัก เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ถั่ว ฯลฯ หวา่นลงในแปลงปลูก

4 แบ่งนักเรียนชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา จำนวน......313......คน ในการดูแลแปลงผัก เช่น การรดน้ำ การให้ กำจัดวัชพืช ซึ่งจะร่วมกันดูแลจนกว่าผักจะโต และเก็บเกี่ยวได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนสามารถปลูกผักกินเองได้
  2. นักเรียนสามารถนำความรู้ไปต่อยอดทำเองที่บ้านได้
  3. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
  4. นักเรียนนำความรู้และแนวทางการปฏิบัติเป็นแกนนำในการปลูกผักได้
  5. โรงเรียนมีพื้นที่ในการผลิตอาหาร ผักปลอดภัย
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

3. เก็บผักสวนครัว /ผักปลอดสารพิษ และไข่ไก่ ส่งโครงการอาหารกลางวัน

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา จำนวน...313.........คน ร่วมกันเก็บผักปลอดสารพิษ จำนวน ....15.....กิโลกรัม/สัปดาห์ และไข่ไก่....25......ฟอง/สัปดาห์ ส่งให้กับโครงการอาหารกลางวัน

2.แม่ครัวนำผักที่ปลูกในโรงเรียน และไข่ไก่ จัดเป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียนได้ทาน จำนวน....313.....คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียน จำนวน.....313.......คน ได้กินอาหารกลางวันที่มีเมนูผัก เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ฯลฯ เพิ่มมากขึ้น

2.แม่ครัวนำผักที่ปลูกในแปลง และไข่ไก่จัดทำเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียน

  • photo

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนมีความรู้ และ ทักษะพื้นฐานในการ ดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
83.00 90.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนได้สืบสานและห่วงแหน วัฒนธรรมการเกษตรที่ กำลังจะสูญหาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ประสบการณ์ในการเลี้ยงไก่ไข
83.00 85.00

มีครอบครัวต้นแบบเกษตรกรรมในพื้นที่

3 เพื่อนำหลักการทางการเกษตรตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการ การเรียนการสอนรู้ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนร้อยละ 80 มีทักษะในการปลูกผัก 2.นักเรียนกินผักปลอดสารพิษอาหารกลางวัน
83.00 90.00

ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน

4 เพื่อเกิดแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษาและประชาชน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการเลี้ยงไก่ การปลูกผัก
0.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 94
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มยุวเกษตร นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 94

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนมีความรู้ และ ทักษะพื้นฐานในการ ดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง (2) เพื่อให้นักเรียนได้สืบสานและห่วงแหน วัฒนธรรมการเกษตรที่ กำลังจะสูญหาย (3) เพื่อนำหลักการทางการเกษตรตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการ การเรียนการสอนรู้ในสถานศึกษา (4) เพื่อเกิดแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษาและประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เก็บผักสวนครัว /ผักปลอดสารพิษ และไข่ไก่ ส่งโครงการอาหารกลางวัน (2) กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่ (3) ทำแปลงผัก ้ด้วยอิฐบล็อก /ปลูกผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัญจน์ชญา คงศรี (0922422996) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

ไปบนสุด