การยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และการตลาดยุคดิจิทัล พื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

สำหรับเจ้าหน้าที่

รหัสโครงการ :

วันที่ :         /              /25       

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ

การยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และการตลาดยุคดิจิทัล พื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

2. ประเภทโครงการ

** โครงการใหม่ หมายถึง เป็นโครงการที่ยังไม่เคยได้รับทุนสนับสนุน
** โครงการต่อเนื่อง หมายถึง เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่เคยได้รับทุน

3. องค์กร/คณะบุคคล ที่เสนอโครงการ (กรณีขอทุนในนามองค์กร/คณะบุคคล)

1. ชื่อองค์กร/คณะบุคคล


4. ผู้รับผิดชอบโครงการ

1. ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

รายชื่อผู้ร่วมทำโครงการ/คณะทำงาน (อย่างน้อย 2 คน)

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 1

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ คนที่ 2

คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    *************

ที่อยู่ตามบัตรประชาชน

บ้านเลขที่ ** หมู่ที่ ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณีย์

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ******** เบอร์มือถือ ******** โทรสาร ******** อีเมล์ ********

บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้ ตำแหน่ง สังกัด

5. ท่านและองค์กรของท่าน จัดอยู่ในองค์กรประเภทใด

ระบุ

6. ความสอดคล้องกับแผนงาน

ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ

7. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

8. ความเป็นมา/ หลักการและเหตุผล/ ความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์ปัญหา

สถานการณ์ปัญหาขนาด
ระบุความเป็นมา / สถานการณ์ / หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติมในช่องด้านล่าง

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2019 กำหนดเสร็จ 30/09/2020

10. ประเด็นหลัก

เลือกประเด็นหลักของโครงการ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ระบุ

11. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน

ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาในโครงการ 10
บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ 30

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก กุดโดน

12. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรมการดำเนินงาน

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด

ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม 5 ผลิตภัณฑ์

2.00 5.00
2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

รายได้ของเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

5.00 20.00
3 เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้าทอมือตั้งแต่การผลิต การทอ การออกแบบลวดลาย ตลอดจนการพัฒนาผ้าทอมือด้วยการประยุกต์นวัตกรรมและการตลาดยุคดิจิทัลที่เหมาะสม

เกษตรกรเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

5.00 20.00

13. แนวทาง/วิธีการสำคัญ

14. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการ
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดการ
2. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แผนการดำเนินงานและกำหนดการ
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

20 ชุด 120 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

20 ชุด 35 1 700
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

6 คน 1,000 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

เดินทางลงพื้นที่ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงกิโลเมตรล่ะ 4 บาท x ระยะทาง 47 กม. ไป-กลับ 94 กม. x จำนวน 2 ครั้ง

1 ครั้ง 376 2 752
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารเข้าร่วมประชุม

6 ชุด 100 1 600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 2 2,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

6 คน 240 2 2,880
รวมค่าใช้จ่าย 17,232

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิต (ต้นน้ำ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิต (ต้นน้ำ)
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม
2. อาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่นิเทศก์นักศึกษา
3. นักศึกษาในโครงการลงพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้กับชุมชนในพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตผ้าทอพื้นเมืองย้อมคราม
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

6 คน 240 18 25,920
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 18 21,600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงกิโลเมตรล่ะ 4 บาท x ระยะทาง 47 กม. ไป-กลับ 94 กม. x จำนวน 18 ครั้ง

1 เที่ยว 376 18 6,768
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

30 ชุด 100 3 9,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างวิเคราะห์เฉดสีของคราม (องค์ประกอบทางเคมี ค่าเฉดสี)

3 ครั้ง 3,000 1 9,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 ชุด 120 6 28,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 ชุด 35 12 16,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

(วิทยากร 4 คน x 600 บาทต่อชั่วโมง x 6 ชั่วโมงต่อวัน x 4 ครั้ง)

4 คน 3,600 4 57,600
รวมค่าใช้จ่าย 175,488

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูป (กลางน้ำ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูป (กลางน้ำ)
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. การทอผ้าพื้นเมืองย้อมครามให้มีลวดลายประยุกต์ร่วมสมัย เพื่อมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
2. อาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่นิเทศก์นักศึกษา
3. นักศึกษาในโครงการลงพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้กับชุมชนในพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การทอผ้าพื้นเมืองย้อมครามให้มีลวดลายประยุกต์ร่วมสมัย เพื่อมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจัดทำต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) พร้อมบรรจุภัณฑ์เพื่อทดสอบทางการตลาด

5 ชุด 10,500 1 52,500
อื่น ๆ

ค่าวัตถุดิบ ส่วนผสม และอุปกรณ์บางส่วนในกระบวนการย้อมคราม, พัฒนาผลิตภัณฑ์ และการถ่ายทอดองค์ความรู้

5 ชิ้น 15,000 1 75,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

(วิทยากร 4 คน x 600 บาทต่อชั่วโมง x 6 ชั่วโมงต่อวัน x 4 ครั้ง)

4 คน 3,600 5 72,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

6 คน 240 5 7,200
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 5 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 212,700

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาด (ปลายน้ำ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาด (ปลายน้ำ)
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
  3. เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้าทอมือตั้งแต่การผลิต การทอ การออกแบบลวดลาย ตลอดจนการพัฒนาผ้าทอมือด้วยการประยุกต์นวัตกรรมและการตลาดยุคดิจิทัลที่เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
1. การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองย้อมคราม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรในพื้นที่บ้านนาค้อ ตำบลกุดโดน อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
2. อาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่นิเทศก์นักศึกษา
3. นักศึกษาในโครงการลงพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้กับชุมชนในพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองย้อมคราม ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตร
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปใช้ในการสร้างช่องทางการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์

1 ครั้ง 14,600 1 14,600
อื่น ๆ

ค่าบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองย้อมคราม

5 ชิ้น 11,000 1 55,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

6 คน 240 2 2,880
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 2 2,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

(วิทยากร 2 คน x 600 บาทต่อชั่วโมง x 6 ชั่วโมงต่อวัน x 3 ครั้ง)

2 คน 3,600 1 7,200
รวมค่าใช้จ่าย 82,080

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. ยกระดับผ้าทอย้อมครามเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรมท้องถิ่น ให้มีความหลากหลายและมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในชุมชนด้วยนวัตกรรม สร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
  3. เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้าทอมือตั้งแต่การผลิต การทอ การออกแบบลวดลาย ตลอดจนการพัฒนาผ้าทอมือด้วยการประยุกต์นวัตกรรมและการตลาดยุคดิจิทัลที่เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
1. ติดตามผลจากการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
2. สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลการดำเนินงาน
ภาคีร่วมสนับสนุน
 
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าถ่ายเอกสาร

จ้างเหมาบริการจัดทำรูปเล่มรายงาน

5 ชิ้น 2,500 1 12,500
รวมค่าใช้จ่าย 12,500

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 142,800.00 1,500.00 69,320.00 9,000.00 277,380.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 28.56% 0.30% 13.86% 1.80% 55.48% 100.00%
ดูงบประมาณตามประเภท

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน บาท

งบประมาณสมทบจาก จำนวน บาท

งบประมาณรวม จำนวน บาท

15. องค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน

ระบุชื่อองค์กรภาคีที่ร่วมดำเนินงาน พร้อมทั้งบทบาทหน้าที่

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

16. การติดตาม/การประเมินผล

ใช้กระบวนการสภาผู้นำ/สภาชุมชน ที่มีการประชุมหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง และกำหนดให้มีวาระการติดตามประเมินผลโครงการ การจัดทำแผนชุมชน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะว่าแต่ละโครงการ แต่ละกิจกรรม เป็นตามแผนหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ควรระบุการกำกับติดตามกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่ชัดเจน ได้แก่ วิธีการติดตามประเมินผล เครื่องมือในการติดตาม ผู้มีบทบาทในการติดตาม ระยะเวลาในการติดตาม เป็นต้น

17. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนและการขยายผล

แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหวังผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

18. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

19. การขอทุนจากแหล่งอื่น

กรณีมีการขอทุนจากแหล่งอื่น ให้ระบุชื่อแหล่งทุนและจำนวนเงิน

20. ไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ

ไม่มีไฟล์เอกสารประกอบการพัฒนาโครงการ


ภาคผนวกที่ 3 ความเห็น

1. ความเห็นของทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และ ผู้ทรงคุณวุฒิ

ตัวชี้วัดการประเมิน

1. การมีส่วนร่วม

คะแนน 5 4 3 2 1

2. ผู้นำ/แกนชุมชน

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

มีผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เช่น สภาผู้นำ/กลุ่ม/เครือข่าย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

3. โครงสร้างองค์กร

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

โครงสร้างชุมชน ทุนของชุมชน
การวิเคราะห์และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • เกิดกลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ เป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างชุมชน เช่น กรรมการหมู่บ้าน กรรมการชุมชน เป็นต้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

4. การประเมินปัญหา

คะแนน 5 4 3 2 1

5. การถามว่าทำไม

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชุมชน/เลือกปัญหา
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการปัญหา (คน สภาพแวดล้อมกลไก)
การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการจัดการปัญหา
การมีแผนชุมชน

การติดตามประเมินผล

  • มีฐานข้อมูลชุมชน (ปัญหาของชุมชน , ปัญหาเฉพาะประเด็น)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

6. การระดมทรัพยากร

คะแนน 5 4 3 2 1

7. การเชื่อมโยงภายนอก

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

แผนการดำเนินการมีภาคีร่วมสนับสนุน อะไร อย่างไร งบประมาณที่ร่วมสนับสนุน

การติดตามประเมินผล

  • การระดมทรัพยากรและการเชื่อมโยงภายนอก มีการบรรจุอยู่ใน แผนชุมชน แผน อบต./เทศบาล แผนของหน่วยงาน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

8. บทบาทตัวแทน

คะแนน 5 4 3 2 1

ตัวแทนภายใน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นตัวแทนชุมชน มีกระบวนการชี้แจง ประชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ
  • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน
  • มีการประเมินผลระหว่างโครงการ
  • มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
ตัวแทนภายนอก
  • มีระบบพี่เลี้ยง หนุนเสริม เชื่อมประสานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกชุมชน

การพัฒนาโครงการ

ตัวแทนภายใน และตัวแทนภายนอก

การติดตามประเมินผล

  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในกลุ่ม / เครือข่าย หรือ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกชุมชน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับเป็นพี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

9. การบริหารจัดการ

คะแนน 5 4 3 2 1

การพัฒนาโครงการ

  • การใช้ระบบพัฒนาโครงการบนเว็บไซต์

การติดตามประเมินผล

  • การใช้ระบบติดตามประเมินผลบนเว็บไซต์ (รายงาน, การเงิน)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
  • ความรู้ใหม่/องค์ความรู้ใหม่
  • สิ่งประดิษฐ์/ผลผลิตใหม่
  • กระบวนการใหม่
  • วิธีการทำงาน/การจัดการใหม่
  • การเกิดกลุ่ม/โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • แหล่งเรียนรู้ใหม่

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
  • การบริโภค
  • การออกกำลังกาย
  • การลด ละ เลิก อบายมุข
  • การลดพฤติกรรมเสี่ยง
  • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต
  • พฤติกรรมการจัดการตนเองครอบครัว

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
  • กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ
  • สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ
  • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

การติดตามประเมินผล

  • การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน
  • อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น

การติดตามประเมินผล

  • การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.5 เกิดกระบวนการชุมชน
  • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย
  • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน
  • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

การติดตามประเมินผล

  • การเกิดกระบวนการชุมชน

ตัวชี้วัดการประเมิน

10. คุณค่าที่เกิดขึ้น
10.6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
  • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การติดตามประเมินผล

  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คะแนนตัวชี้วัดการประเมิน

คะแนนตัวชี้วัด = 0/45 = 0.00%

กรุณาคลิกรีเฟรชเพื่อคำนวนคะแนนตัวชี้วัดใหม่

2. สรุปภาพรวมข้อเสนอโครงการ

3. ความเห็นภาพรวมของผู้ทรงคุณวุฒิ

<