โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)

รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)
ภายใต้โครงการ แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านบ่อหว้า
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมัณฑนา อ่อนทอง (0864903966)
พี่เลี้ยงโครงการ วรรณา สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.2615935975183,100.40801663948
งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2561 30 ก.ย. 2562 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00

ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย เตี้ย ร้อยละ 20
20.00
2 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย ผอม ร้อยละ 10
10.00
3 3. เด็กนักเรียน ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ร้อยละ 70
70.00

สถานการณ์/หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโต เนื่องจากการเจริญเติบโคมีทั้งด้านสมองและร่างกายหากขาดอาหารสิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย จึงเป็นการแสดงออกทางร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้นยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้าไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ สถานก่ารณ์ปัญหา ที่พบคือ เด็กนักเรียนมีลักษณะร่างกายเตี้ยร้อยละ20 ผอม ร้อยละ10 และนักเรียนที่ไม่ได้ทานอาหารเช้า ร้อย 70

กรอบแนวคิด

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

การบริการอาหารกลางวันเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิงสำหรับนักเรียน เพราะการรับประทานอาหาร กลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีการจัดทำอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ จะทำให้นักเรียนมีสุขภาพดี และแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค เมื่อนักเรียนมี่สุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงยอมส่งผลให้นักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร

เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย น้ำหนักเพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร

20.00 10.00
2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

100.00
3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน

ผู้เรียนร้อยละ 70 ได้รับการเรียนรู้เรื่อง เศษฐกิจพอเพียง ตามศาสตร์พระราชา

70.00

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 6 -
เด็กนักเรียนศูนย์เด็กเล็ก ก่อนประถมวัย 22 -
เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหว้า 54 -

การดำเนินงาน/กิจกรรม

วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
19 พ.ย. 61 ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน 0.00 4,800.00
19 พ.ย. 61 ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 0.00 2,700.00
19 พ.ย. 61 เลี้ยงไก่ไข่ 0.00 6,250.00
20 พ.ย. 61 ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง 0.00 0.00
15 ม.ค. 62 เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก 6,250.00 -
รวม 0 6,250.00 4 13,750.00
วิธีดำเนินการ (บรรยายเพิ่มเติม)

ขั้นดำเนินการ

  • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบ

  • ประชุมปรึกษาหารือผู้ปกครองเกี่ยวกับการประกอบอาหารกลางวัน

  • จัดกลุ่มนักเรียนปฏิบัติรับผิดชอบตามกิจกรรมที่กำหนด

  • จัดเวรนักเรียนช่วยงานอาหารกลางวันในแต่ละวัน

  • ปฏิบัติกิจกรรมอาหารกลางวัน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคนในระดับก่อนปฐมวัย ถึง ชันประถมศึกษาปีที่ 6 และเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษ ส่งผลการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา แก่เด็กนักเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน

เอกสารประกอบโครงการ

ชื่อเอกสารผู้ส่ง
1 ไฟล์ข้อเสนอโครงการ ครั้งที่ 1 (.pdf) wanna

โครงการเข้าสู่ระบบโดย โรงเรียนบ้านบ่อหว้า โรงเรียนบ้านบ่อหว้า เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2561 13:40 น.