รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน อันดามัน
ภายใต้โครงการ การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เครือข่ายเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน อันดามัน
วันที่อนุมัติ 1 กรกฎาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 400,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไมตรี จงไกรจักร์
พี่เลี้ยงโครงการ นส.ซูวารี มอซู
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดระนอง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด
งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2563 31 ธ.ค. 2563 90,000.00
2 1 พ.ย. 2563 31 ม.ค. 2564 160,000.00
3 1 พ.ย. 2563 31 มี.ค. 2564 150,000.00
รวมงบประมาณ 400,000.00

ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์/หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ภัยพิบัติของประเทศไทยมีแนวโน้มเกิดบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น การบริหารจัดการสาธารณภัยผ่าานกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือและจัดกการสาธารณภัยในเบื้องต้นแก่ชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยอย่างยั่งยืน ทั้งนี้เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน ได้ให้ความสำคัญกับการสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการป้องกันและบนนเทาสาธารณภัย โดยเฉพาะชุมชนในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยให้มีความพร้อมในการจัดการภัยพิบัติอย่างเข้มแข็ง จึงได้มุ่งเสริมสร้างศักยภาพชุมชนให้สามารถรับมือและจัดการสาธารณภัยด้วยตนเอง ภายใต้แนวคิด "การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน อันดามัน" ผ่านกลไกการเตรียมพร้อมรับมือและลดความเสี่ยงภัยในระดับชุมชน โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีขีดความสามารถในการเตรียมพร้อมรับมือและจัดการภัยพิบัติอย่างเข้มแข็งครอบคลุมทุกพื้นที่และมีความปลอดภัยจากภัยพิบัติอย่างยั่งยืน

กรอบแนวคิด

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

  • การร่วมมือกันของเรือข่ายการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ในจังหวัดอันดามัน
  • ยุทธศาสตร์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนในระดับเขตและในระดับจังหวัด

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เกิดข้อมูลความเสี่ยงภัยพื้นที่ระดับจังหวัด

-เกิดคณะทำงานระดับจังหวัดที่มีความหลากหลาย -มีข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติในพื้นที่ -ร่างแผนยุทธศาสตร์ภัยพิบัติจังหวัด

0.00
2 เกิดชุดเรียนรู้การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน

-เกิดชุดความรู้ในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน อย่างน้อย 6 กรณี

0.00
3 เกิดแผนยุทธศาสตร์การจัดการภัยพิบัติอันดามัน

-เกิดแผนยุทธศาสตร์การจัดการภัยพิบัติ อันดามันร่วมกัน และข้อเสนอนโยบายระดับกลุ่มจังหวัด

0.00
4 พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ภัยพิบัติอันดามันร่วมกัน

-เกิดคณะทำงานภัยพิบัติอันดามันระดับเขต ปภ.๑๘ -เกิดแผนที่ผ่านการพิจรณาร่วมกัน

0.00
5 เพื่อปรับปรุงกฎหมาย ปภ.๒๕๕๐

เกิดเคลื่อนการแก้ไขกฎหมาย ปภ.ในรัฐสภา และการร่วมชื่อเพื่อแก้กฎหมาย

0.00
6 เพื่อเกิดกระบวนการประสานงานภาคีเครือข่าย

-มีระบบเครือข่ายชัดเจน -ระบบรายงานโครงการได้ -รายงานเอกสารการเงินโครงการได้

0.00

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

การดำเนินงาน/กิจกรรม

วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ส.ค. 63 1. ปรึกษาหารือร่วมกับเครือข่ายระดับจังหวัดและคณะทำงาน 70.00 90,000.00 -
1 ส.ค. 63 2. ถอดชุดความรู้โดมเดลการจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน 70.00 60,000.00 -
1 ส.ค. 63 4. ประชุมร่วมกับภาคีภาครัฐ ปภ.เขต๑๘ 50.00 70,000.00 -
1 ส.ค. 63 5. เสนอการปรับปรุงกฎหมายกับรัฐสภา/กรรมาธิการ 60.00 50,000.00 -
1 ส.ค. 63 6. ประสานงาน/สรุปงาน/รายงาน 0.00 40,000.00 -
18 ก.ย. 63 ปรึกษาหารือร่วมกับเครือข่ายระดับจังหวัดและคณะทำงาน 30.00 15,000.00 1,500.00
18 ก.ย. 63 เวทีจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจังหวัดสตูล 25.00 10,000.00 -
19 ก.ย. 63 เวทีจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจังหวัดตรัง 25.00 10,000.00 0.00
20 ก.ย. 63 เวทีจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจังหวัดกระบี่ 25.00 10,000.00 0.00
29 ก.ย. 63 เวทีจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจังหวัดพังงา 28.00 10,000.00 0.00
30 ก.ย. 63 เวทีจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจังหวัดภูเก็ต 30.00 10,000.00 0.00
1 ต.ค. 63 เวทีจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจังหวัดiระนอง 0.00 10,000.00 0.00
รวม 343 325,000.00 6 1,500.00
วิธีดำเนินการ (บรรยายเพิ่มเติม)

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดการทำงานร่วมกันของเครือข่ายการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ที่ประกอบด้วยภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน และเครือข่ายภาควิชาการ อย่างน้อย 6 เครือข่าย ประกอบด้วย ในจังหวัดอันดามัน 5 เครือข่าย
    และจังหวัดสตูล 1 เครือข่าย
  2. เกิดยุทธศาสตร์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนในระดับเขตที่ 18
  3. เกิดยุทธศาสตร์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนระดับจังหวัด

เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบโดย PPI_Admin PPI_Admin เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2563 17:03 น.