โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

บันทึกรายงานกิจกรรมของพื้นที่

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
22 พ.ค. 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:30:42
Project owner
แก้ไขโดย นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล เมื่อ 29 สิงหาคม 2562 07:31:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมสรุปการดำเนินงานการพัฒนากองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการและกำหนดแนวทางการดำเนินต่อไป
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานโครงการ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านการรายงานผลดำเนินการ • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 34 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานโครงการ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านการรายงานผลดำเนินการ • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในการดำเนินงานมาทั้งหมดของโครงการและกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนในช่วงต่อไป • เกิดการสรุปบทเรียน ปัญหาอุปสรรค์ และข้อค้นพบ • เกิดการสรุปในเชิงยุทธศาสตร์ของโครงการ และแนวปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• กรณีความกังวลของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบกองทุนท้องถิ่นเรื่องการตรวจสอบการใช้งบประมาณโดย สตง. ต้องมีการประสานงานให้ สปสช.เขต 11 ได้ลงมาสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง • กรณีการติดขัดเชิงนโยบายจากผู้บริหารท้องถิ่น ทางโครงการและผู้เกี่ยวข้องควรมีการสร้างความเข้าใจกับผู้บริหารท้องถิ่นนั้นๆก่อนที่จะทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ • การเสนอเพื่อเป็นนโยบายระดับ พชอ. ต้องพัฒนาให้เป็นเชิงบูรณาการกับประเด็นอื่นๆ เพื่อสร้างน้ำหนักให้ประเด็นปัจจัยเสี่ยง เช่น ประเด็นอุบัติเหตุ NCD เป็นต้น

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
5 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:22:49
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 12 สิงหาคม 2562 11:18:14 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมกองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหลักประกับสุขภาพระดับตำบล 2. เพื่อพัฒนาโครงการตัวอย่างในการขอรับงบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น 3. เพื่อสนับสนุนให้กองทุนท้องถิ่นสามารถดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้นได้
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
• คณะทำงานภาคประชาสังคม

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ ตัวอย่างโครงการ แบบฟอร์มโครงการ • ดำเนินการกิจกรรม • สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น • สรุปผลการประชุม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 48 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  2. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  3. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
  4. นายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลตำบลนาเหรง(พี่เลี้ยงกองทุน)
  5. นายอนันต์ พรมนิน คณะทำงานสาธารณสุขอำเภอเมืองนครศรีฯ
  6. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลปากนคร
  7. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงเซา
  8. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
  9. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลตำบลท่าแพ
  10. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลเมืองปากพูน
  11. ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  3. เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ ตัวอย่างโครงการ แบบฟอร์มโครงการ
  4. ดำเนินการกิจกรรม
  5. สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น
  6. สรุปผลการประชุม
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน จากกองทุนท้องถิ่นทั้ง 6 กองทุนสามารถเขียนโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายและระเบียบของกองทุน • เกิดโครงการตัวอย่างที่ผ่านการวิเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนท้องถิ่นนั้นๆจำนวน 6 โครงการ • เกิดกลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนที่มีความสารถในการดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงโดยใช้ศักยภาพจากกองทุนท้องถิ่นจำนวน 8 กลุ่ม จาก 6 กองทุน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• กลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนยังขาดข้อมูลเชิงลึกในประเด็นปัจจัยเสี่ยง จึงต้องมีการสนับสนุนงบประมาณตั้งต้นเพื่อให้ใช้ในการสำรวจข้อมูลและสร้างความเข้าใจให้กับองค์กรต่างๆในชุมชน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรพัฒนาศักยภาพเครือข่าย สสส.ให้มีการเชื่อมโยงการทำงานในระดับพื้นที่กับกองทุนท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรเร่งให้มีการสร้างความเข้าใจในระเบียบกองทุนให้กับคณะกรรมการกองทุนที่ตั้งขึ้นใหม่ในปี 2562 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:08:27
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:15:09 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมกำหนดแนวทางการลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันนักดื่มนักสูบหน้าใหม่

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเสริมศักยภาพผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนท้องถิ่น 2. เพื่อสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการให้กับผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนท้องถิ่น 3. เพื่อสรุปผลและประเมินโครงการจากการดำเนินงานที่ผ่านมา
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • คณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
• คณะทำงานภาคประชาสังคม

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ • ประสานงานนักวิชาการ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ
• ดำเนินการกิจกรรม • สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น • สรุปผลการประชุม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 19 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  2. นายชญานิน เอกสุวรรณ ผู้แทน สปสช.11
  3. นายชัชวาล บุญอมร ผู้แทนกองทุนฯ อบต.ท่าเรือ
  4. นายปราโมทย์ บุญคมรัตน์ ผู้แทนกองทุนฯ อบต.ท่าเรือ
  5. นายธีระ ด้วงสิน ผู้แทนกองทุนฯ อบต.กำแพงเซา
  6. นางสาวเรวดี สุดภักดี ผู้แทนกองทุนฯ เทศบาลเมืองปากพูน
  7. นางสาวธัญลักษณ์ ขวดทอง ผู้แทนกองทุนฯ เทศบาลตำบลท่าแพ
  8. นางสาวโปรดปราน คำอ่อน ม.สงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
  9. นางสายสุณีย์ จำรัส ม.สงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
  10. ดร.ดุริยางค์ วาสนา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.กาญจนดิษฐ์
  11. ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  12. นายทวีวัตร เครือสาย พี่ลี้ยงกองทุนฯ
  13. นายธนาวุธ คงจันทร์ สคล.ใต้บน
  14. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  15. นายอนันต์ พรมนิน นักวิชาการสาธารณสุขอำเภอเมืองนครศรีฯ
  16. นางสาวภานุชนารถ คงแก้ว ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
  17. นางสาวชนิดาภา โชติรัตน์ ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
  18. นางสาวนุจรีย์ โจมนุพงศ์ ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
  19. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานงานกับนักวิชาการ
  3. ประสานกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี
  4. เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ
  5. ดำเนินการกิจกรรม
  6. สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นมีความเข้าใจในระเบียบของกองทุนฯ ในด้านความสอดคล้องในประเด็นการลดปัจจัยเสี่ยงโดยการใช้งบประมาณของกองทุนฯ ในด้าน ป้องกัน ส่งเสริม • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นลดความกังวลการตรวจสอบจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เพราะได้รับการชี้แจงจากผู้ที่รับผิดชอบโดยตรง จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นเข้าใจในสถานการณ์ปัญหาในกลุ่มเด็กมัธยมต้น ทั้งด้านการสูบ ดื่ม เสพ และเห็นปัจจัยที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านั้น และสามารถนำไปเป็นองค์ประกอบในการพัฒนาโครงการเพื่อใช้งบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น • เกิดภาคีความร่วมมือจากภาคประชาสังคม โดยจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่น • เกิดการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ทั้งเชิงพื้นที่คือ 7 กองทุนท้องถิ่น และแนวทางการเสริมศักยภาพให้กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนเป็นผู้ดำเนินโครงการ • เกิดการปรับโครงการให้มีความสอดคล้องกับหลักวิชาการและเหมาะสมกับพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• กลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนยังขาดความเข้าใจในประเด็นปัจจัยเสี่ยง จึงต้องมีการเสริมศักยภาพเพื่อให้เกิดความเข้าใจ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรพัฒนาศักยภาพเครือข่าย สสส.ให้มีการเชื่อมโยงการทำงานในระดับพื้นที่กับกองทุนท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรมีการสร้างความเข้าใจในระเบียบกองทุนให้กับคณะกรรมการกองทุนที่ตั้งขึ้นใหม่ในปี 2562 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
8 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 17:00:55
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 17:01:04 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ.

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ.

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

รายงานผลการดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

รายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานผลการดำเนินโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:23:00
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:23:00 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 16:00:30
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:57:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานโครงการ

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสรุปผลเครื่องมืองานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อกำหนดแนวทางการวิจัยโดยการมีส่วนร่วม
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • คณะทำงานภาคประชาสังคม • ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม • เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
  3. นายกัณตนัช รัตนวิก เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
  4. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  5. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  6. นายองอาจ พรหมมงคล สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม
  3. เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย
  4. ดำเนินการกิจกรรม
  5. สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดการสรุปเครื่องมือเพื่อใช้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น  ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ) • เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• เพื่อให้ผลการวิจัยเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานราชการและสาธารณะ จึงต้องขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรม จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งอาจใช้เวลานาน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรนำผลการวิจัยไปอ้างอิงในการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน เพื่อทำให้โครงการมีความน่าเชื่อถือ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:19:04
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:19:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานกองทุนสุขาพตำบล เทศบาลท่าแพ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:35:02
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:35:02 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:23:58
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:25:49 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม2562

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม  นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม  นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:27:11
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:27:14 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
7 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:01:33
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:02:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานกองทุนสุขาพตำบล อบต.ปากนคร

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขาพตำบล อบต.ปากนคร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:19:01
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 16:19:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:07:53
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:08:01 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
7 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:12:57
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:12:59 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:30:39
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 14:30:40 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
24 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 15:58:52
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:28:36 น.

ชื่อกิจกรรม : พบปะประชุมสรุปงานวิจัยเด็กมัธยมต้น ในเขตอำเภอเมืองนครศรีฯ

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อรายงานผลการทดลองใช้เครื่องมืองานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2.เพื่อสรุปบทเรียนการใช้เครื่องมือวิจัย

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• คณะทำงานจาก สพม.12

• คณะทำงานภาคประชาสังคม

• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม

• เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย

• ดำเนินการกิจกรรม

• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• คณะทำงานจาก สพม.12

• คณะทำงานภาคประชาสังคม

• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม

• เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย

• ดำเนินการกิจกรรม

• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดผลการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ)

• เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ

• เกิดชุดข้อมูลที่สามารถนำไปอ้างอิงในโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนท้องถิ่นได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• ผลการวิจัยเป็นการทดลองทำแค่ 1 โรงเรียน จึงยังไม่สามารถสะท้อนภาพที่แท้จริงในพื้นที่อำเภอเมืองนครศรีฯได้หมด จึงจะขยายให้มีการทำวิจัยเพื่อให้ครอบคลุมอำเภอเมืองนครศรีฯ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรนำผลการวิจัยไปอ้างอิงในการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน เพื่อทำให้โครงการมีความน่าเชื่อถือ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:34:53
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 13:35:15 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานประจำเดือนกันยายน2561

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประสานงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 15:45:35
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 12:59:41 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อรวบรวมข้อมูลด้านสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบของเด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีฯ

2.เพื่อทบทวนและสรุปข้อมูลด้านวิชาการด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง

• คณะทำงานจาก สพม.12

• คณะทำงานภาคประชาสังคม

• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคมและส่วนการศึกษา (สพม.12)

• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการที่มีการสำรวจมาแล้ว

• ดำเนินการกิจกรรม

• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
  3. นายกัณตนัช รัตนวิก เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
  4. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  5. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
  6. นายองอาจ พรหมมงคล สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  2. คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
  3. คณะทำงานจาก สพม.12
  4. คณะทำงานภาคประชาสังคม
  5. ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในจังหวัดนครศรีฯแต่ขาดกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กมัธยมต้นและไม่เห็นปัจจัยหรือแรงจูงใจที่ทำให้เกิดการดื่ม
• ข้อมูลที่ทำการสำรวจในกลุ่มเด็กมัธยมต้นในการสุ่มตัวอย่างเด็กมัธยมต้นในเขตจังหวัดนครศรีฯยังไม่มีรายละเอียดมากพอ และไม่มีสถาบันการศึกษาที่น่าเชื่อถือรองรับได้ • เกิดการกำหนดโจทย์วิจัยใหม่คือการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยจะออกแบบและให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีได้ทดลองใช้เครื่องมือกับโรงเรียนระดับมัธยมต้น คือ โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ และจะนำผลมารายงานในการประชุมครั้งต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

• ขาดชุดข้อมูลที่ทำให้เห็นสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในจังหวัดนครศรีฯ จึงมีแนวทางให้คณะทำงานด้านวิชาการได้จัดทำขึ้นภายใต้การรับรองจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

• ควรมีการพัฒนาชุดข้อมูลด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในทุกๆกองทุนท้องถิ่น

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลนายเจกะพันธ์ พรหมมงคลเมื่อ 9 สิงหาคม 2562 15:30:38
Project owner
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 10 สิงหาคม 2562 12:58:09 น.

ชื่อกิจกรรม : สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล

  • photo
  • photo
  • photo

ไฟล์ประกอบกิจกรรม

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์
  1. ประเมินปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อประเมินผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. เพ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ดร.พิมานธีระรัตนสุนทร

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

• ประชุมกำหนดโจทย์วิจัย • พัฒนาโจทย์วิจัย • ออกแบบชุดคำถามเพื่อการวิจัย • รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ • ปรับปรุงโจทย์วิจัย • ขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรมจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ดร.พิมาน ธีระรัตนสุนทร

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

• ประชุมกำหนดโจทย์วิจัย • พัฒนาโจทย์วิจัย • ออกแบบชุดคำถามเพื่อการวิจัย • รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ • ปรับปรุงโจทย์วิจัย • ขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรมจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• เกิดข้อมูลปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลด้านความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจังหวัดนครศรีธรรมราช

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 20 มิถุนายน 2561 16:56:56
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 11 กรกฎาคม 2561 14:51:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าจ้างประสานงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และจัดทำข้อมูล รายงาน งวดที่ 1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายด้านปัจจัยเสี่ยง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เพื่อติดตาม ประเมินผล สรุปการปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
  2. เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 2 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้ประสานงานเครือข่ายปัจจัยเสี่ยง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. โทรศัพท์
  2. สื่อสารออนไลน์
  3. เดินทางประสาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 มิถุนายน 2561 เวลา 13.00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 20 มิถุนายน 2561 16:40:52
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 15:27:23 น.

ชื่อกิจกรรม : พบปะสร้างความเข้าใจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 3/10

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อกำหนดรายชื่อคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  2. เพื่อกำหนดรายละเอียดการเชิญประชุมคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

นางมันทณา เฮ่าตระกูล นักวิชาการชำนาญการ สสจ.นครศรีฯ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯ ด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง
  4. เพื่อยกระดับการทำงานเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์หาจุดคานงัด การสร้างเคมแปญ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 1 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นางมันทณา เฮ่าตระกูล นักวิชาการชำนาญการ สสจ.นครศรีฯ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. นัดหมาย
  2. ศึกษาเอกสารประกอบการประชุมและสรุปการประชุม
  3. เข้าพบปะ
  4. สรุปงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดรายชื่ออนุกรรมการ จาก 3 ภาคส่วนคือ

  1. ส่วนราชการ
    • ป้องกัน/ท้องถิ่นจังหวัด
    • สคร. 11
    • สพม. 12
    • สรรพสามิต
    • ตำรวจภูธรจังหวัด
    • สสอ.ฉวาง
    • อบจ.นครศรีฯ
  2. ส่วนประชาสังคม
    • นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
    • นายกัณตนัช รัตนวิก สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
    • นายวรวุฒิ ประสานพจน์ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
    • ประธาน อสม. จ.นครศรีฯ
    • นางสาววาณี พงษ์ยี่หล่า มูลนิธิเพื่อนเยาวชนพอเพียง
    • ผอ.รร.ปริยัตรติธรรม วัดสระเรียง
    • เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
  3. ส่วนวิชาการ/สื่อ/เอกชน/ท้องถิ่น
    • ผู้แทนหอการค้า จ.นครศรีฯ
    • นางอรอุมา เรียบร้อย สื่อมวลชน
    • นายอานนท์ มีศรี สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีฯ
    • นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
    • นายนายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลนาเหรง
    • ดร.พวงรัตน์ จินพล วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้

ที่ปรึกษา

  • ว่าที่ ร.ต.สุภาพร ปราบปราย สภาองค์กรชุมชน จ.นครศรีฯ
  • ดร.ดำรงค์ โยธารักษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
  • นายทวี สร้อยศิริสุนทร สถาบันพัฒนาประชาสังคม
  • ผู้แทน รพ.สต. 2 ท่าน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้ที่มีรายชื่อเป็นอนุกรรมการฯ จำเป็นต้องได้รับการเสริมศักยภาพทั้งด้านสถานการณ์ปัญหา แนวทางป้องกัน และการทำแผนร่วมเชิงยุทธศาสตร์

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สสส.ควรสนับสนุนให้เกิดหน่วยจัดการด้านเชื่อมประสานภาคี บูรณาการแผนงานด้านสุขภาพ ในระดับจังหวัด

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

จัดให้มีพื้นที่กลางในการเรียนรู้ร่วมกัน และบูรณาการการทำงานอย่างเป็นระบบ

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
15 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 20 มิถุนายน 2561 21:17:41
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 14:45:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนของอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  2. เพื่อกำหนดแนวทางการเสริมศักยภาพอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. เพื่อกำหนดบทบาทของอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. ผู้แทนจากสำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
  2. ผู้แทนจากเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. ผู้แทนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
  4. ผู้แทนจากสำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 11
  5. ผู้แทนจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต 12
  6. ผู้แทนจากศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยงจังหวัดนครศรีธรรมราช
  7. ผู้แทนจากสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 11

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เพื่อติดตาม ประเมินผล สรุปการปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
  2. เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ผู้แทนจากสำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
  2. ผู้แทนจากเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. ผู้แทนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
  4. ผู้แทนจากสำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 11
  5. ผู้แทนจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต 12
  6. ผู้แทนจากศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยงจังหวัดนครศรีธรรมราช
  7. ผู้แทนจากสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 11

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเน้นที่กลุ่มเยาวชน อายุระหว่าง 12-16 ปี
  • กำหนดเนื้อหาเพื่อสร้างความเข้าใจและสามารถกำหนดเป้าหมายได้
  • การแบ่งบทบาทของอนุกรรมการฯแต่ละชุด
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน 6 ด้าน คือ

  1. ยุทธศาสตร์ด้านการบังคับใช้กฎหมาย
  2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษา
  3. ยุทธศาสตร์ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา
  4. ยุทธศาสตร์ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน
  5. ยุทธศาสตร์ด้านควบคุมจุดจำหน่าย
  6. ยุทธศาสตร์ด้านสื่อสร้างสรรค์
  • แนวทางการทำข้อมูลด้านสถานการณ์ปัญหาด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ในกลุ่มอายุระหว่าง 12-16 ปี โดยเน้นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ และในชุมชน พื้นที่อำเภอเมือง
  • การกำหนดบทบาทหน้าที่แต่ละภาคส่วน ดังนี้
    • ด้านการบังคับใช้กฎหมาย โดย ตำรวจภูธรจังหวัด สสจ.
    • ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษาโดย สพม.12
    • ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา โดย สคล.ใต้บน ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง และภาคประชาสังคม
    • ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน โดย ท้องถิ่น/ปกครองจังหวัด สปสช. เขต 11 อบจ.
    • ควบคุมจุดจำหน่าย โดยสรรพสามิต
    • ด้านสื่อสร้างสรรค์ โดย สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรสนับสนุนให้เกิดกลไกที่คอยทำหน้าที่เชื่อมประสานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงในระดับจังหวัด

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ควรเร่งดำเนินการด้านการแต่งตั้งอนุกรรมการฯให้เรียบร้อยโดยเร็ว เพื่อทำหน้าที่ชงข้อมูล แนวปฏิบัติ ให้คณะกรรมการระดับจังหวัด

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
6 เมษายน 2561 เวลา 13.00-17.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2561 13:46:25
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 15:25:02 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 2/10

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมารวมทั้งกลไกที่ขับเคลื่อน
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการทั้งระดับพื้นที่และนโยบายสาธารณะ
  3. เพื่อเสนอให้มีการสนับสนุนเชิงนโยบายด้านการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหร
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. ภาครัฐ
  2. ภาคนักวิชาการ
  3. ภาคประชาสังคม
  4. เอกชน
  5. สื่อมวลชน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 11 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เข้าพบปะกับ นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดภาคีความร่วมมือกับ สพม.12
  • สพม.12 มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
  • สพม.12เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
  • สพม.12รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังขาดนโยบายสนับสนุนจากทางจังหวัดให้หน่วยงานตั้งเรื่องปัจจัยเสี่ยงเป็นเป้าหมายหลัก จึงต้องผลักดันในการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดต่อไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.
  • ไม่มี
ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

สพม.12 ควรมีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัด มีการดำเนินงานด้านการป้องกัน ส่งเสริม ด้านการลดปัจจัยเสี่ยง ทั้งด้านนโยบายโรงเรียนปลอดเหล้า การบูรณาการสู่การเรียน การสอน และจัดตั้งชมรมในสถานศึกษา

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
24 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-21.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 20 มิถุนายน 2561 11:12:11
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 15:24:49 น.

ชื่อกิจกรรม : พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นที่ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เยาวชนได้เสนอเครื่องมือและผลการดำเนินงานขององค์กรตัวเองที่ใช้สื่อสารตลอด 1 ปี ที่ผ่านมา
  2. เยาวชนแลกเปลี่ยนและนำเสนอ ปัญหาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อเยาวชน จ.นครศรีธรรมราช รวมถึงทางออกในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
  3. สร้างการมีส่วนร่วม และ สร้างข้อเสนอต่อนโยบ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. โรงเรียนโรงเรียนจรัสพิชากร
  2. โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา
  3. โรงเรียนสหมิตรบำรุง
  4. เครือข่ายเยาวชน south youth ranger
  5. กลุ่มเยาวชนทุ่งใสหัวใจยิ้ม
  6. กลุ่มยุวทัศนจ.นครศรีธรรมราช
  7. เครือข่ายตลาดสีเขียว อ.พรหมคีรี
  8. ชุมชนหัวลำภู อ.หัวไทร
  9. คณะทำงานสมัชชาสุขภาพจ.นครศรีธรรมราชประเด็น ปกป้องเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง
  10. กลุ่มลูกขุนน้ำ คีรีวงค์ อ.ลานสะกา
  11. มหาวิทยาลัยนาฎศิลป์
  12. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  13. ทีวิลิกอร์
  14. ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีธรรมราช
  15. เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • กิจกรรมการแสดงบนเวที
  • ลานเสวนาปัญหาและทางออกปัญหาเยาวชนเมืองคอน
  • ลานกิจกรรมชวนเล่นสนุกสนานและมีสาระ
  • รับฟังความเห็นข้อเสนอต่อนโยบายสาธารณะ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 111 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. โรงเรียนโรงเรียนจรัสพิชากร
  2. โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา
  3. โรงเรียนสหมิตรบำรุง
  4. เครือข่ายเยาวชน south youth ranger
  5. กลุ่มเยาวชนทุ่งใสหัวใจยิ้ม
  6. กลุ่มยุวทัศนจ.นครศรีธรรมราช
  7. เครือข่ายตลาดสีเขียว อ.พรหมคีรี
  8. ชุมชนหัวลำภู อ.หัวไทร
  9. คณะทำงานสมัชชาสุขภาพจ.นครศรีธรรมราชประเด็น ปกป้องเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง
  10. กลุ่มลูกขุนน้ำ คีรีวงค์ อ.ลานสะกา
  11. มหาวิทยาลัยนาฎศิลป์
  12. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  13. ทีวิลิกอร์
  14. ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีธรรมราช
  15. เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ทั้งหมดจำนวน 111 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประชุมทีมงานหลักเพื่ออกแบบงาน กำหนดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วม
  2. การประสานกลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชุมเตรียมทีมงานร่วมเพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
  4. ประชาสัมพันธ์ก่อนงาน
  5. จัดเตรียมสถานที่ / ซักซ้อมก่อนวันงาน
  6. จัดงานแบบมีส่วนร่วมภายใต้ แนวคิด จากเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์ที่สนุกและมีสาระ
  7. สรุปงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดเครือข่ายเยาวชนด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • เครือข่ายเยาวชนเกิดการเรียนรู้เรื่องสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่
  • เกิดข้อเสนอต่อเครือข่ายเด็ก เรื่องให้เครือข่ายเยาชนได้มีภารกิจในการสร้างการเรียนรู้สร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับเยาวชนในพื้นที่
  • เกิดการแบ่งกลุ่มเครือข่ายออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
  1. เครือข่ายเด็กชายขอบ(เสี่ยง)
  2. เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสุข
  3. เครือข่ายกลุ่มเด็กมัธยมในจังหวัดนครศรีฯ
  4. เครือข่ายกลุ่มเยาวชนด้านนโยบาย แต่มีเป้าหมายเดียวกันคือ เปลี่ยนเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์
  • เกิดการเชื่อมกลไกการขับเคลื่อนด้านการลดปัจจัยเสี่ยง2 ขบวน คือ

    1. ขบวนระบบสุขภาพระดับอำเภอหรือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
    2. ขบวนเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง นครศรีธรรมราช
  • เกิดข้อเสนอต่อฝ่ายนโยบายในพื้นที่ คือ

  1. ขอให้ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการประกาศนโยบายการปกป้องคุ้มครองเด็กจากปัจจัยเสี่ยง เป็นวาระหลักของจังหวัด
  2. ขอให้มีการบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนด้านปัจจัยเสี่ยง เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
  3. ขอให้หน่วยงานด้านการบังคับใช้กฎหมายมีมาตรการและการดำเนินการที่เข้มข้นและเอาจริงเอาจัง
  4. ขอให้สถานศึกษาทุกแห่งได้มีการจัดการศึกษาด้านการรู้เท่าทันและสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัจจัยเสี่ยงทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพื่อป้องกันการเกิดนักดื่ม นักสูบหน้าใหม่
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • เครือข่ายเยาวชนบางเครือข่ายยังไม่ค่อยเท่าทันต่อสถานการณ์ปัญหาด้านปัจจัยเสี่ยง ดังนั้นจึงต้องมีการเสริมศักยภาพในด้านนี้อย่างต่อเนื่อง
  • ในการขับเคลื่อนเรื่องเหล้า บุหรี่ ในกลุ่มเยาวชน ยังขาดแกนนำเยาวชนที่จะคอยทำหน้าที่พี่เลี้ยงหรือคอยสร้างความรู้ให้กับเยาวชน โดยเฉพาะในสถานศึกษา
  • ยังขาดพื้นที่ที่จะเชื่อมโยงระบบหรือกลไกสุขภาพในพื้นที่กับเครือข่ายเยาวชน ดังนั้นจึงจะสร้างพื้นที่เชื่อมโยงทั้ง 2 ส่วนเข้าด้วยกัน
ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรสนับสนุนให้เกิดกลไกที่คอยทำหน้าที่เชื่อมประสานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงในระดับจังหวัด

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.
  • สร้างการมีส่วนร่วมและส่งเสริมบทบาทของเครือข่ายเยาวชนในระบบสุขภาพในพื้นที่
  • ควรมีนโยบายระดับจังหวัดด้านปัจจัยเสี่ยงต่อเยาวชนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้หน่วยงานที่ทำด้านปัจจัยเสี่ยงสามารถขับเคลื่อนได้อย่างคล่องตัว
คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00-17.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 20 มิถุนายน 2561 16:15:32
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 15:24:23 น.

ชื่อกิจกรรม : พบปะสร้างความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ครั้งที่ 1/10

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมารวมทั้งกลไกที่ขับเคลื่อน
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการทั้งระดับพื้นที่และนโยบายสาธารณะ
  3. เพื่อเสนอให้มีการสนับสนุนเชิงนโยบายด้านการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหร
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12
  2. นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
  3. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ์ประชาคมงดเหล้า จังหวัดนครศรีฯ
  4. นางมันทณา เฮ่าตระกูล นโยบายและแผน สสจ.
  5. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  6. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • นำเสนอสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยง
  • หารือแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายระดับจังหวัด
  • กำหนดแผนงาน กลไกการขับเคลื่อนประเด็นปัจจัยเสี่ยง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12
  2. นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
  3. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ์ประชาคมงดเหล้า จังหวัดนครศรีฯ
  4. นางมันทณา เฮ่าตระกูล นโยบายและแผน สสจ.
  5. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
  6. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประสานงานผู้เข้าร่วม
  2. จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานของเครือข่าย/ระบบสุขภาพที่ผ่านมา และรายละเอียดโครงการ
  3. เข้าพบปะ
  4. สรุปงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดภาคีความร่วมมือกับ สสจ.

  • สสจ.นครศรีธรรมราช มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
  • สสจ.นครศรีธรรมราช เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
  • สสจ.นครศรีธรรมราช รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังขาดนโยบายสนับสนุนจากทางจังหวัดให้หน่วยงานตั้งเรื่องปัจจัยเสี่ยงเป็นเป้าหมายหลัก จึงต้องผลักดันในการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดต่อไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรเชื่อมร้อยภาคีสุขภาพของ สสส.ในระดับจังหวัด และสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

สสจ.นครศรีธรรมราช ควรมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัด มีการดำเนินงานด้านการป้องกัน ส่งเสริม ด้านการลดปัจจัยเสี่ยง เช่น สสอ. รพ.สต.

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยพวงเพ็ญ  จิ๋ววิเศษณาพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณาเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2561 13:52:21
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 12 กรกฎาคม 2561 15:24:01 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมแกนประสานงานครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  • เพื่อบูรณาการแนวทางการทำงานระบบสุขภาพในจังหวัดนครศรีธรรมราช
  • เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติการร่วมกันแบบบูรณาการ
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • ผู้แทนคณะทำงานสมัชชาสุขภาพ จังหวัดนครศรีฯ ประเด็นปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหรี่ แบบบูรณาการ
  • ผู้แทนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ
  • ผู้แทนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
  • ผู้แทนจากศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช • ผู้แทนจากประชาคมงดเหล้า จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของสมัชชาสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราชและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ
  • กำหนดแผนปฏิบัติงานร่วมจากทั้ง 3 ระบบ
  • Action Plan ระยะ 3 เดือน
  • กำหนดพื้นที่ปฏิบัติการณ์ (Unit) และผู้เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12 (ผู้แทนคณะทำงานสมัชชา สุขภาพ จังหวัดนครศรีฯ)
  2. นายยงยุทธ นาทะชัย ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไชยมนตรี (ผู้แทนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯและจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล)
  3. นายวรวุฒิ ประสานพจน์  ประชาคมงดเหล้า จังหวัดนครศรีธรรมราช
  4. นางสาวสาวิตรี หมั่นช่วย ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  5. นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ์ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  6. นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา  เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ
  7. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
  8. นางสาวนาถอนงค์ คงชัย ผู้แทน สพป.4

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ทำสรุปข้อมูล ผลลัพธ์ ต้นทุน ที่เกิดขึ้นแล้ว
  2. ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
  3. ดำเนินการประชุม
  4. สรุปผลการประชุม
  5. จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 เดือน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การเชื่อมระบบสุขภาพทั้ง 3 ระบบในจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ สช. พชอ.เมือง กองทุนฯ
  2. แกนประสานทั้ง 3 ระบบสุขภาพเกิดความคุ้นเคยกัน
  3. แผนปฏิบัติงานร่วมจากทั้ง 3 ระบบ โดยแบ่งตามแนวทางของแต่ละระบบสุขภาพคือ
    • คณะทำงานสมัชชาสุขภาพ จ.นครศรีฯ เป็นฝ่ายอำนวยการ (Monitor) มีการสนับสนุนเชิงนโยบายสาธารณะระดับจังหวัด ส่งเสริมให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องมีกระบวนการทำงานเพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานของระบบสุขภาพชุมชนระดับอำเภอ ตำบล โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคืบหน้า ทุกๆ 3 เดือน
    • คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ (พชอ.) (Supporter) มีการอำนวยการให้ระบบสุขภาพระดับอำเภอมีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนเชิงโครงสร้าง คำสั่งแต่งตั้ง บริการข้อมูลด้านสุขภาพ สร้างแผนปฏิบัติการ ควบคุม ประเมิน ติดตาม สรุปผลการดำเนิน พัฒนารูปแบบการทำงาน โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคบหน้า ทุกๆ 3 เดือน และมีการพัฒนาศักยภาพ 2 ครั้ง
    • กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล (Actor) มีการปฏิบัติการและสนับสนุนให้เกิดการใช้งบประมาณให้หน่วยงานในพื้นที่ ทั้งหน่วยงาน ท้องที่ ท้องถิ่นองค์กรชุมชน ได้ดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในระดับตำบล และพัฒนาเป็นกติกาหรือข้อตกลงในระดับตำบล โดยจะมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 2 ครั้ง และทีมประสานจะมีการลงพื้นที่เพื่อเสริมพลังตลอดโครงการ
    • หน่วยงานหรือองค์กรภาคประชาสังคมที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ มีการทำงานด้านการสร้างการรู้เท่าทัน ทำงานแบบเกาะติด จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนัก ส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการเฝ้าระวัง/กระตุ้นกลไกการบังคับใช้กฎหมาย
  4. Action Plan ระยะ 3 เดือน คือ
    • เข้าพบนายแพทย์สาธารณสุข นครศรีฯ 1 ครั้ง
    • พัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 1 ครั้ง
    • ประสานนายอำเภอเมืองเพื่อบรรจุประเด็นปัจจัยเสี่ยงใน พชอ.เมืองนครศรีฯ
    • ร่างคำสั่งแต่งตั้งอนุกรรมการรับผิดชอบประเด็น
    • ประชุมอนุกรรมการ
  5. กำหนดพื้นที่ปฏิบัติการณ์ (Unit) และผู้เกี่ยวข้อง โดยกำหนดพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลที่มีโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ เป็นพื้นที่ปฏิบัติการ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ประสานความร่วมมือกับโครงการที่มีการปฏิบัติการในพื้นที่ เช่น โครงการขนาดเล็ก ชุมชนน่าอยู่

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

การแบ่งบทบาทหน้าที่ของแต่ละระบบสุขภาพทำได้ดีและสอดคล้องกัน แต่ขอให้เน้นกระบวนการพัฒนาศักยภาพ ที่ไม่ใช่เน้นแต่ทักษะ เทคนิค เท่านั้น ควรเพิ่มเรื่องเจตจำนง คุณค่า และความหมาย ในแต่ละระบบสุขภาพด้วย

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-