ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

บันทึกรายงานกิจกรรมของพื้นที่

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
25 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 27 ธันวาคม 2561 10:09:53
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 8 มีนาคม 2562 09:39:30 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนจัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการในอำเภอรือเสาะ

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. แกนนำบุคลากร จากสถานบริการ รพ.สต. 15 แห่ง
  2. แกนนำบุคลากรจากสถานบริการ รพ.รือเสาะ 1 แห่ง รวม 16 แห่ง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน
  2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการสุขภาพในอำเภอรือเสาะ
  3. สรุปผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. สรุปผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 100 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. แกนนำบุคลากร จากสถานบริการ รพ.สต. จำนวน 15 แห่ง
  2. แกนนำบุคลากรจากสถานบริการ รพ.รือเสาะจ 1 แห่ง (ประกอบด้วยกลุ่มงานต่างๆในโรงพยาบาลรือเสาะ อาทิเช่น กลุ่มการพยาบาล,กลุ่มงานทันตกรรม,กลุ่มงานรังสี,กลุ่มงานชันสูตร,กลุ่มงานปฐมภูมิ,กลุ่มงานโภชนศาสตร์ เป็นต้น) รวม 16 แห่ง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน
  2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการในอำเภอรือเสาะ
  3. สรุปผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. สรุปผลการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จ้ดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในสถานบริการสุขภาพในอำเภอรือเสาะ เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 100 คน หน่วยงานที่เข้าร่วมมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรมร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน พบว่า

  • จำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่ง
  • มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดนวัตกรรม Ruso 8 hrs Happinometer
  2. การนำสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย ได้แก่ 3ส. 3อ. 1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ กิจกรรมที่ 1 ปรับพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3ส 3อ 1น ด้วยวิถีมุสลิม (กลุ่มงานแพทย์แผนไทย) วัตถุประสงค์
    • เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพทั้ง 4 มิติ โดยนำหลักศาสนา และศาสตร์ด้านแพทย์แผนไทย มาดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย   - ผู้ป่วย DM,HT/ญาติผู้ดูแล ขั้นตอนการดำเนิน
    • คัดกรองกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสุขภาพ
    • ให้ความรู้เกี่ยวกับ 3ส 3อ 1น ด้วยวิถีมุสลิม
    • ประเมิน และติดตามสุขภาพ 3 เดือน/ครั้ง สุขภาพวิถีธรรม

กิจกรรมที่ 2 สวดมนต์ นั่งสมาธิ สนธนาธรรม (ชมรมพุทธ)
วัตถุประสงค์
- เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพทั้ง 4 มิติ โดยนำหลักศาสนาพุทธ มาดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย   - เจ้าหน้าที่/ผู้ป่วย ที่นับถือศาสนาพุทธ ขั้นตอนการดำเนินงาน   - คัดกรองกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสุขภาพ และกลุ่มเสี่ยง   - ให้ความรู้เกี่ยวกับ 3ส 3อ 1น ด้วยวิถีพุทธ
  - สวดมนต์นั่งสมาธิ สนธนาธรรม ทุกวันพุทธ   - ประเมิน และติดตามสุขภาพ ปีละ 1 ครั้ง 3. เกิดนวัตกรรมฟันดีวิถีกำปง,ธนาคารดิน เป็นต้น 4. เกิดแนวปฏิบัติในการจัดระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรม 4.1 การตรวจ/การปฏิบัติพยาบาล ที่ต้องสัมผัสร่างกาย หรือถูกเนื้อต้องตัวจากเพศตรงข้าม คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -แนวทางการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยที่สอดคล้องกับมิติพหุวัฒนธรรม และบริบทชุมชนโดยทีมคร่อมสายงานคุณภาพ ETH -แนวทางการจัดที่นั่งสำหรับ พระภิกษุ สามเณร แม่ชี แผนกผู้ป่วยนอก และ อาคารเวชปฏิบัติครอบครัว - แนวทางการจัดการห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า แผนกรังสี -แนวทางการจัดการเปลี่ยนชุดรับบริการ แผนกแพทย์แผนไทย -การจัดชุดกางเกงสำหรับการตรวจภายใน แผนกเวชปฏิบัติ -นวัตกรรมเสื้อพิทักษ์สิทธิ์ แผนกกายภาพบำบัด
4.2 การจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อ การปฏิบัติกิจทางศาสนา คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล
- มีเอกสารแนวทางการดูแลผู้ป่วยประกอบศาสนกิจละหมาดขณะพักรักษาตัวในโรงพยาบาลโดย ทีมนำทางคลินิก PCT โรงพยาบาลรือเสาะ -คู่มือแนวทางการดูแลผู้ป่วยสูติกรรมวิถีอิสลามแผนกสูติกรรม -แนวทางการเยี่ยมผู้ป่วยวิถีอิสลาม -ระเบียบปฏิบัติเรื่อง พฤติกรรมบริการ ที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามโรงพยาบาลรือเสาะ โดยทีมนำทางทางคลินิก - คู่มือการดำเนินงานสมาธิบำบัด โดย แผนกแพทย์แผนไทย - คู่มือการการดูแลด้านจิตวิญญาณ การรักษาสมาธิละหมาด โดยผ่านการละหมาด โดย แผนกแพทย์แผนไทย
4.3 การจัดการด้านอาหาร คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -คู่มือมาตรฐานอาหารฮาลาลในโรงพยาบาล -เมนูอาหาร ตามบริบทชุมชน และเมนูอาหารงานบุญตามสุขภาพดีวิถีธรรม 3ส 3 อ1 น. สำหรับครอบครัว วัด มัสยิด
4.4 การช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามวิถีอิสลาม และพุทธ โดย ทีม paliative care
- แนวทางการชันสูตรศพ และการจัดการศพตามวิถีอิสลาม โดย ทีมอุบัติเหตุฉุกเฉิน
4.5 การบริการสุขภาพในเทศกาล หรือ วาระพิเศษทางศาสนา
คู่มือฉบับใหม่จากการลงมือปฏิบัติของโรงพยาบาล -โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ -แนวทางการดูแลผู้ป่วยถือศีลอดสำหรับผู้ป่วยทั่วไป และกลุ่มพิเศษ -แนวทางการดูแลสุขภาพดีวิถีธรรม 3ส. 3อ. 1น.โดยเฉพาะในงานบุญต่างๆ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มุมมอง ความสุขของผู้ให้
ความแตกต่าง คือโอกาส ความขาดแคลนไม่ใช่อุปสรรค การเรียนรู้จากสิ่งที่มีอยู่ และแลกเปลี่ยนจากมุมมองอื่นๆ


ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
23 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 27 ธันวาคม 2561 09:58:06
Project owner
แก้ไขโดย PPI_Admin เมื่อ 8 มีนาคม 2562 09:40:15 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในศาสนสถานอำเภอรือเสาะ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อเพื่อให้ภาคีเครือข่ายเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาวะวิถีธรรมในมิติบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ตัวแทนศาสนสถานจากวัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. จัดประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน
  2. จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในศาสนสถานอำเภอรือเสาะ
  3. สรุปผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. สรุปผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 311 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนศาสนสถานจากวัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

  1. วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข
  2. มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง
  3. มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ
  4. มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ
  5. มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง
  6. มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ
  7. มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ
  8. มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์
  9. มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์
  10. มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี
  11. มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์
  12. มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. จัดประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน
  2. จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสุขภาวะดีวิถีธรรมในศาสนสถานอำเภอรือเสาะ
  3. สรุปผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. สรุปผลการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้นแบบ แกนนำจากตัวแทนศาสนสถานตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เป้าหมาย  แกนนำศาสนสถานต้นแบบเข้าร่วม 200 คน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม    อย่างน้อย 10 แห่ง ผลการดำเนินงาน  พบว่า  จำนวนแกนนำศาสนสถานต้นแบบวัด มัสยิดตำบลลาโละร่วมกิจกรรม  311 คน คิดเป็นร้อยละ 155 ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม  12 แห่ง
(มัสยิด 11 แห่ง  วัด 1 แห่ง)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1.การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
กิจกรรมที่ 3  สุขภาวะดีวิธีธรรม พื้นที่ดำเนินการ หมู่1 บ้านบือแรงหมู่ 8 บ้านไทยสุข ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
กลุ่มเป้าหมาย  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สถานการณ์ (ปัญหา)  จากการพัฒนาศาสนาสถาน (มัสยิด ,วัด) ในพื้นที่เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพต้นแบบ และเป็นศูนย์เรียนรู้ต่างๆสำหรับประชาชนในพื้นที่และได้มีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของประชาชนเป็นคู่ขนานซึ่งได้พบปัญหาสุขภาพมานานซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนในพื้นที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและมีอัตราเพิ่มขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อน จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ พบว่า ผู้ป่วยในพื้นที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ จึงได้เกิดนวัตกรรมขึ้นมา

กระบวนการนวัตกรรม 1.มีการประชุมกลุ่มเป้าหมายเพื่อชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินงาน 2.มีการให้ความรู้สู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมวิถีพุทธ วิถีอิสลาม 3.ใช้ศาสนสถานเป็นฐานร่วมดูแลสุขภาพ 4.ใช้หลักการ  3 ส.3 อ. 1 น. โดยใช้มิติ 3 ด้าน ด้านจิตวิญญาณ , ด้านสุขภาพกายใจ และด้านแบบแผนชีวิตและสังคม หมายเหตุ:  มิติด้านจิตวิญญาณ (สวดมนต์/ขอดุอาร์)  (สมาธิ/อิหม่าน)(สนทนาธรรม/นาซีฮัต)     มิติด้านสุขภาพกายใจ (อาหาร/อาหารบารอกัต) (อารมณ์/นัฟซู) (ออกกำลังกาย/อามานะห์)     มิติด้านแบบแผนชีวิต (นาฬิกาชีวิต/วิถีสุนนะ) 5.  นวัตกรรม 5.1เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ 5.2เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด) 5.3พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน 5.4พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.5ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด) 6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 7.แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้ป่วย ,ญาติ 8.มีการติดตามการปฎิบัติกิจกรรม  โดยอสม. ที่รับผิดชอบทุกเดือน 9.มีการประเมินสุขภาพของผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุก๒ เดือน ผลที่เกิดขึ้น 1. เกิดแกนนำจัดการสุขภาพโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานวิถีธรรม 2 ชมรม
1.1ชมรมสุขภาวะดีวิถีธรรมวัดชนาราม จำนวนสมาชิก 28 คน 1.2ชมรมสุขภาวะดีวิถีธรรมมัสยิดบ้านบือแรง จำนวน 30 คน 2.เกิดศาสนสถานต้นแบบจัดการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตามสุขภาวะดีวิถีธรรม

การมีส่วนร่วมของนวัตกรรม 1.โรงพยาบาลรือเสาะ
2.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ 4.องค์การบริหารส่วนตำบลลาโละ 5.ผู้นำศาสนา 6.ผู้นำชุมชม 7.อาสาสมัครสาธารณสุข

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 23 ธันวาคม 2561 01:35:30
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:04:30 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อเพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

มัสยิด ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงาน 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม วัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส รอบที่ 2 3.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 29 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนศาสนสถานจากวัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข
2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง
3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ
4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง
6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ
7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ
8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์
9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์
10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์
12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงาน 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม วัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส รอบที่ 2 3.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2เกิดนวัตกรรม 1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ 2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด) 3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 23 ธันวาคม 2561 01:22:46
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:15:24 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

แกนนำศาสนสถานมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงาน 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม วัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส รอบที่ 2 3.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 23 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนศาสนสถานจากวัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข
2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง
3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ
4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง
6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ
7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ
8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์
9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์
10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์
12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนงาน 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม วัดและมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส รอบที่ 2 3.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย ได้แก่ 3ส. 3อ. 1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/3อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม 1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ 2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด) 3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน             4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม) มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)             6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 31 ตุลาคม 2561 23:48:13
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:08:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรสาธารณสุขอำเภอรือเสาะเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.แกนนำสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลรือเสาะ(กลุ่มงานการพยาบาล, กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค,กลุ่มงานบริหารทั่วไป,กลุ่มงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์,กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม,กลุ่มงานบริการทางการแพทย์,กลุ่มงานทันตกรรม,กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู,กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและทางเลือก,กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์,กลุ่มงานโภชนาศาสตร์ และกลุ่มงานรังสีวิทยา) 2.แกนนำเจ้าหน้าที่จากกลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ(กลุ่มเป้าหมายเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 1.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 2.รพ.สต.นาโอน 3.รพ.สต.บาตง 4.รพ.สต.โคกสะตอ 5.รพ.สต.เรียง 6.รพ.สต.ซือเลาะ 7.รพ.สต.บลูกาฮีเล 8.รพ.สต.สาวอ 9.รพ.สต.ือและห์ 10.รพ.สต.มะนังปันยัง 11.รพ.สต.บาโงกือเตะ 12.รพ.สต.ยือลาแป 13.รพ.สต.ตายา 14.รพ.สต.บูกิตจือแร 15.รพ.สต.ลาโละ 16.รพ.สต.อูยิ)

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน รอบที่ 2

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 30 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.แกนนำสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลรือเสาะ(กลุ่มงานการพยาบาล, กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค,กลุ่มงานบริหารทั่วไป,กลุ่มงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์,กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม,กลุ่มงานบริการทางการแพทย์,กลุ่มงานทันตกรรม,กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู,กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและทางเลือก,กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์,กลุ่มงานโภชนาศาสตร์ และกลุ่มงานรังสีวิทยา) 2.แกนนำเจ้าหน้าที่จากกลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ(กลุ่มเป้าหมายเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 1.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 2.รพ.สต.นาโอน 3.รพ.สต.บาตง 4.รพ.สต.โคกสะตอ 5.รพ.สต.เรียง 6.รพ.สต.ซือเลาะ 7.รพ.สต.บลูกาฮีเล 8.รพ.สต.สาวอ 9.รพ.สต.ือและห์ 10.รพ.สต.มะนังปันยัง 11.รพ.สต.บาโงกือเตะ 12.รพ.สต.ยือลาแป 13.รพ.สต.ตายา 14.รพ.สต.บูกิตจือแร 15.รพ.สต.ลาโละ 16.รพ.สต.อูยิ)

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน รอบที่ 2

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่  2
เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 )
            ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลลัพธ์ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 3. ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
29 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 31 ตุลาคม 2561 23:49:12
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:10:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรสาธารณสุขอำเภอรือเสาะเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.แกนนำสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลรือเสาะ(กลุ่มงานการพยาบาล, กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค,กลุ่มงานบริหารทั่วไป,กลุ่มงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์,กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม,กลุ่มงานบริการทางการแพทย์,กลุ่มงานทันตกรรม,กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู,กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและทางเลือก,กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์,กลุ่มงานโภชนาศาสตร์ และกลุ่มงานรังสีวิทยา) 2.แกนนำเจ้าหน้าที่จากกลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ(กลุ่มเป้าหมายเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 1.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 2.รพ.สต.นาโอน 3.รพ.สต.บาตง 4.รพ.สต.โคกสะตอ 5.รพ.สต.เรียง 6.รพ.สต.ซือเลาะ 7.รพ.สต.บลูกาฮีเล 8.รพ.สต.สาวอ 9.รพ.สต.ือและห์ 10.รพ.สต.มะนังปันยัง 11.รพ.สต.บาโงกือเตะ 12.รพ.สต.ยือลาแป 13.รพ.สต.ตายา 14.รพ.สต.บูกิตจือแร 15.รพ.สต.ลาโละ 16.รพ.สต.อูยิ)

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน รอบที่ 2

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 40 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.แกนนำสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลรือเสาะ(กลุ่มงานการพยาบาล, กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค,กลุ่มงานบริหารทั่วไป,กลุ่มงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์,กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม,กลุ่มงานบริการทางการแพทย์,กลุ่มงานทันตกรรม,กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู,กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและทางเลือก,กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์,กลุ่มงานโภชนาศาสตร์ และกลุ่มงานรังสีวิทยา) 2.แกนนำเจ้าหน้าที่จากกลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ(กลุ่มเป้าหมายเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 1.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ 2.รพ.สต.นาโอน 3.รพ.สต.บาตง 4.รพ.สต.โคกสะตอ 5.รพ.สต.เรียง 6.รพ.สต.ซือเลาะ 7.รพ.สต.บลูกาฮีเล 8.รพ.สต.สาวอ 9.รพ.สต.ือและห์ 10.รพ.สต.มะนังปันยัง 11.รพ.สต.บาโงกือเตะ 12.รพ.สต.ยือลาแป 13.รพ.สต.ตายา 14.รพ.สต.บูกิตจือแร 15.รพ.สต.ลาโละ 16.รพ.สต.อูยิ)

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน รอบที่ 2

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่  2
เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 )
            ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 1.1ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความคาดหวังในการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พหุวัฒนธรรม ดังนี้
        -บุคลากรสามารถทำงานอย่างมีความสุข
      -เข้ากับเพื่อนร่วมงานได้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา - บุคลากรตรงต่อเวลา - บุคลากรกินอิ่ม นอนหลับ -บุคลากรสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ ตามวิถีชุมชน -เสริมสร้างสมรรถนะแก่บุคลากรด้านการให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน - สร้างรอยยิ้มในระหว่างการทำงาน ให้ตัวเองมีความสุขกับทุกวันทำงาน - ผู้รับบริการพึงพอใจ การรับบริการให้มากที่สุด - มีเครื่องมือ อุปกรณ์พร้อมในการทำงาน -ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เช่น การได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง มาเร็ว การฉีดวัคซีน การรับบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น -ประชาชนสามารถเป็นต้นแบบในการดูแลตนเอง ในแต่ละกลุ่มโรค (Model) -มีระบบการทำงานและการจัดการอย่างชัดเจนตามแนวทางที่กำหนด -บุคลากรสามารถทำงานเป็นทีม -บุคลากรหวังว่าจะเข้าใจ พหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น -บุคลากรนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย -สถานที่ทำงานมีระบบความปลอดภัย -การให้บริการที่สอดคล้องกับความเชื่อ วัฒนธรรมของผู้รับบริการ -ให้บริการผู้ป่วยแบบพหุวัฒนธรรมโดยผู้ป่วยไม่ร้องเรียน -อยู่ด้วยกันอย่างสมานฉันท์ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 2.1ประสบการณ์ One day Experiences
-มุมมองของจุด หน่วยงาน
-มุมมองของผู้รับบริการ *อารมณ์ประสบการณ์ด้านบวก ดีใจที่เจอเจ้าหน้าที่
ดีใจที่ได้มากินข้าวที่รพ. ปลอดภัย อยากนอนรพ.กับข้าวอร่อย สบายใจเมื่อเจอพยาบาลยิ้มหวาน สบายใจเมื่อเจอเจ้าหน้าที่ดี มีความสุขที่ได้มาเจอหมอรักษาหาย
รู้สึกโล่งได้มาทำฟันสักที
ดีใจบุคลากรสวย
ได้ข้อมูลครบถ้วน *อารมณ์ประสบการณ์ด้านลบ เสียใจ
เศร้าใจ หงุดหงิด หงุดหงิดเมื่อเจอเจ้าหน้าที่หงุดหงิด เบื่อเข้าคิวหลายรอบซับซ้อน เร่งรีบอยากเข้าห้องฉุกเฉิน
ไม่สบายตัว เวียนศรีษะแสงเข้าตา
ไม่สบายใจ
กังวล ถูกปฏิเสธ  กังวลต้องเสียตังค์ไหม
รพ.รือเสาะคนไข้เยอะจังรอคิวนาน
งงสับสนไม่รู้จะไปที่ไหน รู้สึกบอกไม่ถูกหาไม่เจอ รู้สึกโมโห  หมอไม่อยู่ต้องเดินไปเดินมา -เกิดนวัตกรรม Ruso  8  hrs  Happinometer

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561 00:20:15
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:17:46 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 40 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
24 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-15.30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561 00:18:15
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:22:23 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 33 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องไม่มากจนเกินไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561 00:19:15
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:24:34 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 38 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
5 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561 00:20:53
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:26:17 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะรอบที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 38 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 2 3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 2 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน  พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200  คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5. ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว  และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด  และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม 2.1การนำสุขภาพดี วิถีธรรม  วิถีไทย นำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย  ได้แก่ 3ส.  3อ.  1น. (3ส.-สวดมนต์,สมาธิ,สนทนาธรรม/อ.-อาหาร,อารมณ์,ออกกำลังกาย/1น.-นาฬิกาชีวิต)เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดีตามบริบททางสังคมและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2.2 เกิดนวัตกรรม     1.เมนูอาหารงานบุญสุขภาพ       2.เมนูอาหารส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด ,วัด)         3.พื้นที่สุขภาวะโดยการใช้สื่อ(วิถีพุทธ)วัด/บ้าน                         4.พื้นที่สร้างสุขภาพโดยใช้ผ้ารองละหมาด (วิถีอิสลาม)  มัสยิด/บ้าน 5.ลานสุขภาวะ (มัสยิด/วัด)                         6.ป้ายเตือนความจำ 3 ส.3 อ. 1 น. (มัสยิด ,วัด, บ้าน) 2.3 เกิดธรรมนูญสุขภาวะ วัด และ มัสยิด ในชุมชนตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 กันยายน 2561 เวลา 09:00-15.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561 17:27:33
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:28:58 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานแกนนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้สถานบริการ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญานตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการ
2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 1
3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 30 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.วัดชนาราม ม.8บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการ
2.ลงเยี่ยมหน้างานครั้งที่ 1
3.สรุปประเด็นการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไ่ม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2561 20:20:28
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:29:59 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะ1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 40 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะ1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
24 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2561 20:19:28
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:31:16 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะ1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 60 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะ1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2561 20:18:27
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:32:47 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะ1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 40 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะ1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานแกนนำศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 2 3.สรุปผลการลงเยี่ยม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงเยี่ยมหน้างานศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในอำเภอรือเสาะ รอบที่ 1 เป้าหมาย จำนวน 200 คน แกนนำศาสนสถาน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลที่ได้รับ 1.ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 31 ตุลาคม 2561 23:32:47
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:34:53 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรโรงพยาบาลรือเสาะ เพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากโรงพยาบาลรือเสาะ(กลุ่มงานการพยาบาล ,กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ,กลุ่มงานบริหารทั่วไป ,กลุ่มงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์ ,กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม ,กลุ่มงานบริการทางการแพทย์ ,กลุ่มงานทันตกรรม ,กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู ,กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและทางเลือก ,กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ ,กลุ่มงานโภชนาศาสตร์ ,กลุ่มงานรังสีวิทยา) 2.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ(สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ ,รพ.สต.นาโอน ,รพ.สต.บาตง ,รพ.สต.โคกสะตอ ,รพ.สต.เรียง ,รพ.สต.ซือเลาะ ,รพ.สต.บลูกาฮีเล ,รพ.สต.สาวอ ,รพ.สต.ือและห์ ,รพ.สต.มะนังปันยัง ,รพ.สต.บาโงกือเตะ ,รพ.สต.ยือลาแป ,รพ.สต.ตายา ,รพ.สต.บูกิตจือแร ,รพ.สต.ลาโละ ,รพ.สต.อูยิ)

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการโครงการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยหน้างาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากโรงพยาบาลรือเสาะ(กลุ่มงานการพยาบาล ,กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ,กลุ่มงานบริหารทั่วไป ,กลุ่มงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์ ,กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม ,กลุ่มงานบริการทางการแพทย์ ,กลุ่มงานทันตกรรม ,กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู ,กลุ่มงานแพทย์แผนไทยและทางเลือก ,กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ ,กลุ่มงานโภชนาศาสตร์ ,กลุ่มงานรังสีวิทยา) 2.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ(สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ ,รพ.สต.นาโอน ,รพ.สต.บาตง ,รพ.สต.โคกสะตอ ,รพ.สต.เรียง ,รพ.สต.ซือเลาะ ,รพ.สต.บลูกาฮีเล ,รพ.สต.สาวอ ,รพ.สต.ือและห์ ,รพ.สต.มะนังปันยัง ,รพ.สต.บาโงกือเตะ ,รพ.สต.ยือลาแป ,รพ.สต.ตายา ,รพ.สต.บูกิตจือแร ,รพ.สต.ลาโละ ,รพ.สต.อูยิ)

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการโครงการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยหน้างาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1
เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 ) ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100


ผลลัพธ์ 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องไม่มากจนเกินไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 31 ตุลาคม 2561 23:27:07
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:37:47 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรโรงพยาบาลรือเสาะ เพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรมรอบที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากโรงพยาบาลรือเสาะ 2.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรการโครงการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยหน้างาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 48 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากโรงพยาบาลรือเสาะ 2.ตัวแทนแกนนำเจ้าหน้าที่กลุ่มงานต่างๆจากเครือข่ายสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะกรรการโครงการ 2.ลงเยี่ยมหน้างานเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาบริการสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยหน้างาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ลงเยี่ยมหน้างานบุคลากรเพื่อรับทราบประเด็นกรอบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม รอบที่ 1
เป้าหมาย บุคลากรเข้าร่วม 67 คน (หน่วยบริการสุขภาพ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 80)( กลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 ) ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนหน่วยบริการสุขภาพในคปสอ.รือเสาะ 16 แห่งร่วมกิจกรรม คิดเป็น ร้อยละ 100 , กลุ่มงานจากโรงพยาบาลรือเสาะ จำนวน 12 กลุ่มงาน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 1.1ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความคาดหวังในการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พหุวัฒนธรรม ดังนี้
    -บุคลากรสามารถทำงานอย่างมีความสุข
  -เข้ากับเพื่อนร่วมงานได้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา - บุคลากรตรงต่อเวลา - บุคลากรกินอิ่ม นอนหลับ -บุคลากรสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ ตามวิถีชุมชน -เสริมสร้างสมรรถนะแก่บุคลากรด้านการให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน - สร้างรอยยิ้มในระหว่างการทำงาน ให้ตัวเองมีความสุขกับทุกวันทำงาน - ผู้รับบริการพึงพอใจ การรับบริการให้มากที่สุด - มีเครื่องมือ อุปกรณ์พร้อมในการทำงาน -ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เช่น การได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง มาเร็ว การฉีดวัคซีน การรับบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น -ประชาชนสามารถเป็นต้นแบบในการดูแลตนเอง ในแต่ละกลุ่มโรค (Model) -มีระบบการทำงานและการจัดการอย่างชัดเจนตามแนวทางที่กำหนด -บุคลากรสามารถทำงานเป็นทีม -บุคลากรหวังว่าจะเข้าใจ พหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น -บุคลากรนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย -สถานที่ทำงานมีระบบความปลอดภัย -การให้บริการที่สอดคล้องกับความเชื่อ วัฒนธรรมของผู้รับบริการ -ให้บริการผู้ป่วยแบบพหุวัฒนธรรมโดยผู้ป่วยไม่ร้องเรียน -อยู่ด้วยกันอย่างสมานฉันท์ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 2.1ประสบการณ์ One day Experiences
-มุมมองของจุด หน่วยงาน
-มุมมองของผู้รับบริการ *อารมณ์ประสบการณ์ด้านบวก ดีใจที่เจอเจ้าหน้าที่
ดีใจที่ได้มากินข้าวที่รพ. ปลอดภัย อยากนอนรพ.กับข้าวอร่อย สบายใจเมื่อเจอพยาบาลยิ้มหวาน สบายใจเมื่อเจอเจ้าหน้าที่ดี มีความสุขที่ได้มาเจอหมอรักษาหาย
รู้สึกโล่งได้มาทำฟันสักที
ดีใจบุคลากรสวย
ได้ข้อมูลครบถ้วน *อารมณ์ประสบการณ์ด้านลบ เสียใจ
เศร้าใจ หงุดหงิด หงุดหงิดเมื่อเจอเจ้าหน้าที่หงุดหงิด เบื่อเข้าคิวหลายรอบซับซ้อน เร่งรีบอยากเข้าห้องฉุกเฉิน
ไม่สบายตัว เวียนศรีษะแสงเข้าตา
ไม่สบายใจ
กังวล ถูกปฏิเสธ กังวลต้องเสียตังค์ไหม
รพ.รือเสาะคนไข้เยอะจังรอคิวนาน
งงสับสนไม่รู้จะไปที่ไหน รู้สึกบอกไม่ถูกหาไม่เจอ รู้สึกโมโห หมอไม่อยู่ต้องเดินไปเดินมา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องไม่มากจนเกินไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
18 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 31 ตุลาคม 2561 22:23:03
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 1 มกราคม 2562 18:15:28 น.

ชื่อกิจกรรม :

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ และศาสนสถานต้นแบบมีกิจกรรมเอื้อต่อการสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่ตอบสนองความต้องการทางจิตวิญญาณตามบริบทพหุวัฒนธรรม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะกลุ่มเป้าหมาย ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมคณะกรรมการ 2.ลงเยียมหน้างานแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรมเพื่อรับทราบประเด็น รอบที่ 1 3.สรุปผลการลงเยี่ยมหน้างาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 33 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะกลุ่มเป้าหมาย ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ตัวแทนแกนนำศาสนสถานต้นแบบการพัฒนาสุขภาวะวิถีธรรม ในวัดและมัสยิด อำเภอรือเสาะกลุ่มเป้าหมาย ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.วัดชนาราม ม.8 บ้านไทยสุข 2.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 3.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 4.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 5.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 6.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 7.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 8.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 9.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 10.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 11.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 12.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลประเมินตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯจากหน่วยบริการสุขภาพอำเภอรือเสาะและกลุ่มงานของโรงพยาบาลรือเสาะเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯจากแกนนำศาสนสถานอำเภอรือเสาะเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100

ผลที่เกิดขึ้น 1. ด้านปัจเจกชน บุคลากรที่ได้รับการอบรมเกิดการจัดการแบบแผนชีวิตที่ดีส่งผลให้เกิดมิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) คือในด้านการปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว และการปกป้องทรัพยากร และทำให้เกิดความยั่งยืน(IMPACT) ในด้านภูมิปัญญา  ด้านผู้สืบทอด และด้านประโยชน์สาธารณะ 2.ด้านองค์กรสุขภาพ การจัดการนวัตกรรม มีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาพดีวิถีธรรม 3. ด้านองค์กรชุมชน การจัดการศาสนสถาน ศาสนสถานมีกิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม สุขภาวะวิถีธรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะต้องไม่มากจนเกินไป จึงได้จัดประชุมเป็นกลุ่มๆ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไ่ม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
23 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:21:17
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:39:04 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่ 5

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

  เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุข มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม     

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน70 คน 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง
2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 47 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน47 คน 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง
2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:20:41
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:39:51 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่ 4

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุข มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน70 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน





กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 58 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน58 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:20:00
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:40:30 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่3

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุข มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน70 คน


รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 63 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 63 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:19:20
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:41:08 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุข มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน70 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 62 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 62 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 มีนาคม 2561 เวลา 08:30-16.30 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:18:22
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:41:43 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมบุคลากรสาธารณสุข อำเภอรือเสาะ รุ่นที่1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุข มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน70 คน


รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 67 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-บุคลากสาธารณสุข จาก โรงพยาบาลรือเสาะ, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 67 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดอบรมบุคลากรสุขภาวะวิถีธรรม เป้าหมายที่ตั้งไว้ จำนวน 350 คน ( บุคลากรได้รับการอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การอบรมแบ่งเป็น 5 รุ่น
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนบุคลากรจากรพ.รือเสาะ สสอ.และ รพสต. เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด 297 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85

ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
9 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:16:47
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:43:01 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถาน(วัดชนาราม บ้านไทสุข)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

แกนนำจากตัวแทนศาสนสถาน วัดชนาราม ม.8 บ้านไทสุข ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 34 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

แกนนำจากตัวแทนศาสนสถาน วัดชนาราม ม.8 บ้านไทสุข ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จำนวน  34 คน 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดอบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม
เป้าหมายที่ตั้งไว้จำนวน 200 คน (แกนนำสุขภาพจากศาสนสถานร่วมกิจกรรมอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ร้อยละ 80)
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนตัวแทนแกนนำศาสนสถานจากวัด และ มัสยิด ตำบลลาโละ เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 176 คน คิดเป็นร้อยละ 88
(ตัวแทนแกนนำจาก วัดชนาราม บ้านไทสุข ต.ลาโละ เข้ารับการอบรม จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 68 ) (ตัวแทนแกนนำจาก มัสยิด ต.ลาโละ อ.รือเสาะเข้ารับการอบรม  จำนวน 142คน คิดเป็นร้อยละ 94.6)

ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
7 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยนางนูรฮายาตี นิมะซานางนูรฮายาตี นิมะซาเมื่อ 29 เมษายน 2561 19:09:47
Project owner
แก้ไขโดย นางนูรฮายาตี นิมะซา เมื่อ 18 มกราคม 2562 15:43:23 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถาน(มัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

  เพื่อให้แกนนำสุขภาพ มีองค์ความรู้ และทักษะสร้างสุขภาวะวิถีธรรมที่สอดคล้องกับมิติบริบทพหุวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มแกนนำตัวแทนศาสนสถานจากมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จำนวน  150 คน 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจง 2.อบรมให้ความรู้ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 142 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มแกนนำตัวแทนศาสนสถานจากมัสยิดตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จำนวน 142 คน จากมัสยิดต่างๆในตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 1.มัสยิดบ้านบือแรงม.1บ้านบือแรง 2.มัสยิดบ้านบูเกะนากอ ม.2 บ้านบูเกะนากอ 3.มัสยิดบ้านอีนอม.3 บ้านอีนอ 4.มัสยิดบ้านรีเยง ม.4 บ้านรีเยง 5.มัสยิดบ้านอูยิ ม.4 บ้านอูยิ 6.มัสยิดบ้านลาโละ ม.5 บ้านลาโละ 7.มัสยิดบ้านบาโละห์ ม.5 บ้านบาโละห์ 8.มัสยิดบ้านไอร์บูโละห์ม.6 บ้านไอร์บูโละห์ 9.มัสยิดบ้านกาจอปอรี ม.7 บ้านกาจอปอรี 10.มัสยิดบ้านนัสรียะห์ม.8บ้านนัสรียะห์ 11.มัสยิดบ้านพงยือติม.9 บ้านพงยือติ 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจง 2.จัดอบรมแกนนำสุขภาพ 3.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต การจัดอบรมแกนนำจากตัวแทนศาสนสถานสุขภาวะวิถีธรรม
เป้าหมายที่ตั้งไว้จำนวน 200 คน (แกนนำสุขภาพจากศาสนสถานร่วมกิจกรรมอบรมสุขภาวะวิถีธรรม ร้อยละ 80)
ผลการดำเนินงาน พบว่าจำนวนตัวแทนแกนนำศาสนสถานจากวัด และ มัสยิด ตำบลลาโละ เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 176 คน คิดเป็นร้อยละ 88
(ตัวแทนแกนนำจาก วัดชนาราม บ้านไทสุข ต.ลาโละ เข้ารับการอบรม จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 68 ) (ตัวแทนแกนนำจาก มัสยิด ต.ลาโละ อ.รือเสาะเข้ารับการอบรม  จำนวน 142คน คิดเป็นร้อยละ 94.6)


ผลลัพธ์ กรอบเนื้อหาหลักการดำเนินกิจกรรม จะแบ่งเป็น 3 มิติ ซึ่งประกอบด้วย 1.มิติกรอบกิจกรรม (INPUT)
2.มิติคุณค่า 5 ด้าน (VALUE) 3.มิติความยั่งยืน (IMPACT) กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมการรู้จักตนเอง และรู้จักผู้อื่น 2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนมุมมองการดำเนินชีวิต 3. กิจกรรมการสร้างคุณค่า 4. กิจกรรมจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น (มิติเร่งด่วน มิติที่เป็นปัญหา และมิติเติมเต็มอื่นๆ) 5. กิจกรรมเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต 6. กิจกรรมการวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน 7. กิจกรรมการวางแผนชีวิตโดยใช้ 9 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพดี ,มิติผ่อนคลาย,มิติน้ำใจดี,มิติจิตวิญญาณดี,มิติครอบครัวดี,มิติสังคมดี,มิติใฝ่รู้ดี,มิติสุขภาพเงินดี,มิติการงานดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ไม่มี

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-