โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 8

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด : พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนการดำเนินงานในระดับเขตและระดับจังหวัด 7 จังหวัด
0.00

 

2 ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : มีพื้นที่ต้นแบบในการดำเนินงาน จังหวัดละ 1 แห่ง 1 พชอ.
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. (2) ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ (2) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม (3) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) (4) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. (5) การประชุมชี้แจงทีมระดับเขตให้เข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน (6) ประชุมพัฒนาแผนปฏิบัติงานสนับสนุนการพัฒนาแผนงานโครงการ ครั้งที่2 (7) ประชุมติดตามแผนงานโครงการและการลงบันทึกโครงการในระบบออนไลน์ (8) การประชุมcoaching ทีมระดับพื้นที่จังหวัดเลยเพื่อทำความเข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน และพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการสุขภาวะประชาชนโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นและกรรมการ พชอ. (9) การประชุมปฏิบัติการจัดทำโครงการและพิจารณาคุณภาพโครงการ (10) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการกองทุนประกันสุขภาพท้องถิ่น (11) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพระดับพื้นที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงานโครงการ (12) ประชุมทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนพัฒนาข้อเสนอโครงการ (13) ประชุมทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนพัฒนาข้อเสนอโครงการ (14) ประชุมทีมปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการกองทุนผ่านระบบออนไลน์ (15) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพสุขภาพท้องถิ่น (16) ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกข้อมูลกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (17) ประชุมทีมปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นอำเภอวานรนิวาส จ.สกลนคร (18) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้ขอรับทุนสนับสนุนโครงการ (19) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการเขียนแผนงาน/โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และการลงบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์ (20) การประชุมชี้แจงนโยบายแก่คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(พชอ.) คณะทำงานบริหารจัดการกองทุนเพื่อเชื่อมโยงบูรณาการ (21) ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต(พชอ.)ระดับอำเภอ ระดับตำบล(พชต.)และพัฒนาศักยภาพผู้จัดทำแผนงาน/โครงการ (22) พัฒนาแผนงานโครงการที่ขอทุนงบประมาณปี2563(ตุลาคม62-กันยายน63) (23) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ (ประเมินผล)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh