โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วมกรณีบ้านป่างิ้ว หมู่4 ตำบลทาเหนือ อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วมกรณีบ้านป่างิ้ว หมู่4 ตำบลทาเหนือ อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วมกรณีบ้านป่างิ้ว หมู่4 ตำบลทาเหนือ อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา1.เทศบาลตำบลทาเหนือ 2.กศน.อำเภอแม่ออน 3.โครงการหลวงทาเหนือชุมชนบ้านป่างิ้ว หมู่4 ตำบลทาเหนือ อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่วรุต มณีมาโรจน์คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ เลขที่ 95 ถนนเชียงใหม่-ลำปาง ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300063-66549351. คณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์
2. รศ.ไพบูลย์ หล้าสมศรี
3. นายนที สัมปุรณะพันธ์
4. ผศ.สิทธิโรจน์เลิศอนันต์พิพัฒน์
5. นายสืบพงศ์ จรรย์สืบศรี
6. ผศ.สุรกานต์ จันทร์วงศ์
7. ผศ.เพ็ญศรี จุลกาญจน์
8. นายฐปนนท์ สุวรรณกนิษฐ์
9. นางจันทร์จิรา นที
10. ผศ.เกษตรแก้วภักดี
11. นางสาวสิริกานต์ มีธัญญากร
12. นางสาวรินรดาสันติอาภรณ์
13. นายทวีศักดิ์ แสนสง่า
14. นายทวิชนม์ ชมทวีวิรุตม์
15. นายอนุสรณ์ คาบเพชร
16. นางสาวศิริกัลยาโชติมณี
17. นางสาวธัญญารัตน์ทองใจ
18. นายสุพจน์ ใหม่กันทะ
19. ผศ.ตยานิตย์มิตร์แปง
20. นางสาวรัชฎาพร ใจมั่น
21. ผศ.อรนุชคำแปน
22. นางสาวภาสินีศิริประภา
23. นายดุสิตทองเปรมจิตต์
24. นายขวัญพงษ์สมมิตร
25. นายธาดา เสนานัย
26. นางสาวปิยะนุชเจดีย์ยอด
27. นางสาวรุจิราพรแสงปวง
28. นางสาวสุพัตรา เพลิงบุตร
29. นักศึกษาคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์
30. คณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์
31. ผศ.นิศรา จันทร์เจริญสุข
32. นายสุรัตน์ ยาสิทธิ์
33. นายอดิศักดิ์ ฝนห่าแก้ว
34. ผศ.เสรฐสุดา ปรีชานนท์
35. นางสาวนวิตถา โสภาจรีย์
36. นางเพราพิลาส ประสิทธิ์บุรีรักษ์
37. นางสาวเก็จวลีศรีจันทร์
38. นางสาวชรัญญา สุวรรณเสรีรักษ์
39. นางสาวรุจิรา สุขมณี
40. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ แม่ออน ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านหมู่บ้านป่างิ้ว หมู่ที่ 4 ตำบลทาเหนือ ห่างจากที่ว่าการอำเภอแม่ออนประมาณ 30 กิโลเมตรลักษณะภูมิประเทศพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตชุมชน มีทุ่งนาเล็กน้อยเป็นที่ราบลุ่มจำนวนครัวเรือน65 ครัวเรือน จำนวนประชากรประมาณ 250 คน คนชาวบ้านส่วนใหญ่ในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยการทำนาเป็นหลัก และมีอาชีพรองคืองานหัตถกรรม เช่นการทอผ้า การจักสานไม้ไผ่ บ้านหมู่บ้านป่างิ้วยังมีจุดเด่นอีกอย่างคือเรื่องการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากป่า1. เป็นชุมชนที่มีวัฒนาธรรมประเพณีที่มั่งคง แข่งแรง
2. มีภูมิปัญญาเป็นของตัวเอง
3. มีงานหัตถกรรมที่สวยงาม
4. มีปราชญ์ชมชุมที่มีความรู้ความสามารถ
5. คนในชุมชนบางส่วนยังปรองดองให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6. มีการบริหารจัดการป่าชุมชน
7. เยาวชนในหมู่บ้านได้รับการส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มขึ้น
1. ขาดทักษะในการพัฒนาการเรียนรู้เพิ่มเติม
2. เยาวชนไม่ค่อยเข้าถึงวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม
3. คนในชุมชนไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
5. คนในชุมชนไม่มีพื้นฐานของการประกอบการในรูปของ
วิสาหกิจชุมชน
6. ผู้สูงอายุไม่รู้หนังสือ
1.การพัฒนาพื้นที่และผลิตภัณฑ์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เกิดรายได้อย่างยั่งยืน
2.เสริมสร้างและพัฒนาอาชีพหลักและอาชีพเสริมของคนในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. องค์ความรู้ในศาสตร์ด้านศิลปะ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
2. องค์ความรู้ในศาสตร์ของงานสถาปัตยกรรม
3. องค์ความรู้ในศาสตร์ของการบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาพื้นที่และผลิตภัณฑ์บ้านป่างิ้ว โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เกิดรายได้อย่างยั่งยืน

ร้อยละ 90

0.00
2 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาอาชีพหลักและอาชีพเสริมของคนในชุมชนบ้านป่างิ้ว

ร้อยละ 90

0.00
3 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยฯ และบูรณาการการเรียนการสอนให้นักศึกษาในศตวรรษที่ 21

ร้อยละ 90

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนบ้านป่างิ้ว หมู่ 4 ตำบลทาเหนือ 50

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 โครงการรวบรวมและจัดการองค์ความรู้ของชุมชนบ้านป่างิ้ว

ชื่อกิจกรรม
โครงการรวบรวมและจัดการองค์ความรู้ของชุมชนบ้านป่างิ้ว
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยฯ และบูรณาการการเรียนการสอนให้นักศึกษาในศตวรรษที่ 21
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นที่เพื่อาสำรวจและสัมภาษณ์เพื่อบ่งชี้องค์ความรู้
2.ค้นหาความรู้แหล่งภายนอก
3.สัมภาษณ์แหล่งองค์ความรู้ในชุมชน
4.ประมวลองค์ความรู้จากแหล่งความรู้ภายในและภายนอก
5.ถอดองค์ความรู้ที่ได้จากคนในชุมชน
6.นำองค์ความรู้มาอภิปรายร่วมกับชุมชน
7.จัดเก็บในรูปแบบเอกสารและไฟล์วิดีโอ
8.จัดทำฐานข้อมูล Online เพื่อเป็นฐานข้อมูล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ได้องค์ความรู้ที่ได้จากคนในชุมชนและจัดเก็บในรูปแบบเอกสารและไฟล์วิดีโอ พร้อมจัดทำฐานข้อมูล Online เพื่อเป็นฐานข้อมูล
ผลลัพธ์
1.มีฐานข้อมูลการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นจริงและถูกต้องจัดเก็บอย่างเป็นระบบ
2.มีแหล่งศึกษาเรียนรู้ภูมิปัญญาของท้องถิ่น
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
1.เทศบาลตำบลทาเหนือ
2.กศน.อำเภอแม่ออน
3.โครงการหลวงทาเหนือ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 2 โครงการฝึกอบรมการจัดการโครงสร้างและระเบียบการบริหารจัดการกลุ่ม

ชื่อกิจกรรม
โครงการฝึกอบรมการจัดการโครงสร้างและระเบียบการบริหารจัดการกลุ่ม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาอาชีพหลักและอาชีพเสริมของคนในชุมชนบ้านป่างิ้ว
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นที่ชุมชนเก็บรวบรวบข้อมูลกลุ่มอาชีพต่างในชุมชน
2.แบ่งกลุ่มอาชีพตามรูปแบบของผลิตภัณฑ์จากชุมชน
3.จัดทำรูปแบบของการบริหารจัดการกลุ่มที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
4.ออกแบบโครงสร้างและร่างระเบียบการบริหารจัดการกลุ่ม
5.จัดประชุมเพื่อนำเสนอโครงสร้างและระเบียบการบริหารจัดการกลุ่ม
6.จัดทำระเบียบการบริหารกลุ่มและโครงการสร้างกลุ่ม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ได้รูปแบบของการบริหารจัดการกลุ่มที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชนจำนวน 3 กลุ่ม
ผลลัพธ์
1.ชุมชนมีรูปแบบของการบริหารจัดกลุ่ม ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
2.กลุ่มอาชีพในชุมชน สามารถใช้รูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มอย่างเป็นระบบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
1.เทศบาลตำบลทาเหนือ
2.กศน.อำเภอแม่ออน
3.โครงการหลวงทาเหนือ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 3 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และพัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้าชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และพัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้าชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาพื้นที่และผลิตภัณฑ์บ้านป่างิ้ว โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เกิดรายได้อย่างยั่งยืน
  2. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาอาชีพหลักและอาชีพเสริมของคนในชุมชนบ้านป่างิ้ว
  3. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยฯ และบูรณาการการเรียนการสอนให้นักศึกษาในศตวรรษที่ 21
รายละเอียดกิจกรรม
1.สำรวจพื้นที่เพื่อการวางแผนรูปแบบแลนด์มาร์ทและศูนย์จำหน่ายสินค้าของชุมชน
2.ออกแบบและจัดทำต้นแบบภาพเสมือนจริงและจัดทำโมเดลเพื่อให้ชุมชนนำไปใช้ประโยชน์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ได้ต้นแบบแลนด์มาร์ทและศูนย์จำหน่ายสินค้าของชุมชุน
ผลลัพธ์
1.ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและก่อสร้างแลนด์มาร์ทและศูนย์จำหน่ายสินค้าของชุมชนได้จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
1.เทศบาลตำบลทาเหนือ
2.พัฒนาชุมชนอำเภอทาเหนือ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 113,287.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

113,287.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) - ได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้านป่างิ้วให้สามารถสร้างอาชีพใหม่ พัฒนอาชีพเดิมให้เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจชุมชนให้มีรายได้เพิ่มและรายจ่ายในครัวเรือน
- ได้พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มที่มีความแข็งแรงและยั่งยืนให้กับชุมชน
- เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนชุมชนในท้องถิ่น ระหว่าง คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา
ผลลัพธ์ (Outcome) - การบริหารจัดการกลุ่มมีการรวมกลุ่มที่เข้มแข็ง และมีประธานกลุ่มและคณะกรรมการกลุ่มเพื่อแบ่งหน้าที่การดำเนินงานกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ
- การเพิ่มรายได้ทางกลุ่มสามารถเพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการยกระดับผลิตภัณฑ์ทั้งได้ด้านของรูปแบบและคุณภาพที่ได้ฐานมากขึ้นประมาณร้อยละ 30
- การลดรายจ่าย ทางกลุ่มสามารถลดรายจ่ายในระบวนการผลิตได้ การจัดหาวัสดุให้สีธรรมชาติประมาณร้อยละ 20
ผลกระทบ (Impact) - ยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับชุมชน ท้องถิ่น
- ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในท้องถิ่นเพื่อมูลค่าเพิ่มเศรษฐกิจชุมชน
- พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการผลผลิต ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 15:00 น.