โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีสำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่องคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ/หรือคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ/หรือคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรีรัตน์ รวมเจริญสำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานีโทรศัพท์ 073-331302 E-mail : jareerat.su@psu.ac.thดร. กำธร เกิดทิพย์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ปัตตานี ยะหริ่ง จะรัง

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลจะรัง อยู่ห่างจากอำเภอยะหริ่ง 13 กิโลเมตร สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและพื้นที่ชุ่มน้ำอยู่ติดแม่น้ำยะหริ่ง มีพืชเศรษฐกิจคือ ตาลโตนดจำนวน 300,000 ต้น มีเนื้อที่ทั้งหมด 17 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นเนื้อที่จำนวน 10,625 ไร่ จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด 7 หมู่บ้าน 962 ครัวเรือน ประชากร 4,537 คน แยกเป็นเพศชาย 2,173 คน เพศหญิง 2,364 คน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำงานเกษตร เช่น ทำนา ไร่นาสวนผสม ทำน้ำตาลโตนด เลี้ยงสัตว์ ประมง รับจ้าง ค้าขาย ตำบลจะรัง ซึ่งเป็นพื้นที่มีต้นตาลขึ้นเป็นจำนวนมาก ในอดีตชาวบ้านมีวิถีชีวิตด้วยการประกอบอาชีพจากต้นตาลโตนด เช่น การทำน้ำตาลโตนด เก็บลูกตาลขาย ทำขนมลูกตาล จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้นชาวบ้านในชุมชนเล่าว่าในอดีตมีต้นตาลโตนดขึ้นอยู่ทั่วไปทั้งตำบลจะรัง แทบทุกครัวเรือนประกอบอาชีพทำนาควบคู่กับการประกอบอาชีพผลิตน้ำตาลจากต้นตาลโตนด แต่ปัจจุบันมีครัวเรือนที่ประกอบอาชีพนี้ลดลงไปเป็นจำนวนมากกว่าครึ่งตำบลและคาดว่าจะสูญสลายไปจากชุมชนในไม่ช้าถ้าไม่อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้ไว้ และในพื้นที่น้ำตาลโตนดมีราคาถูกมาก จากประเด็นปัญหาดังกล่าวชาวบ้านตำบลจะรังจึงได้พยายามฟื้นฟูและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิตน้ำตาลจากต้นตาลโตนดแบบดั้งเดิมในลักษณะเป็นน้ำตาลสด น้ำตาลแว่น เป็นต้นหนึ่งในชุมชนของพื้นที่จังหวัดปัตตานีที่ชาวบ้านรวมกลุ่มกันเพื่อต้องการสร้างอาชีพและรายได้เกิดเป็นกลุ่มแปรรูปตาลโตนด ณ บ้านจะรัง เป็นหมู่บ้านที่มีการจัดตั้งเป็นสมาชิกกลุ่มแปรรูปตาลโตนด ในพื้นที่หมู่ที่ 4 และ 7 จำนวน 50 คน ซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมาชิกในหมู่บ้านที่ต้องการสร้างอาชีพและรายได้จากต้นตาลโตนด โดยมีการผลิตน้ำตาลโตนดและนำผลตาลโตนดมาแปรรูปผลิตภัณฑ์เป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ชื่อผลิตภัณฑ์ว่า ตาลจะรัง โดยเมื่อนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ สร้างมูลค่าเพิ่มขึ้น เช่น น้ำตาลโตนดผง น้ำตาลโตนดแว่นน้ำตาลโตนดเหลว (ไซรัป) วุ้นลูกตาลกรอบ ข้าวเหนียวกวน และอื่น ๆ ตามความต้องการของตลาด กลุ่มชาวบ้านตำบลจะรังได้เล็งเห็นการพัฒนาการขึ้นตาล การทำน้ำตาลและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด เพื่อให้ตาลโตนดเป็นส่วนหนึ่งของผลผลิตในเชิงเศรษฐกิจชุมชนเพื่อการสร้างอาชีพ รายได้ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนพื้นที่ตำบลจะรัง ปัจจุบันทางกลุ่มได้พยายามพัฒนาวิธีการเก็บเกี่ยวน้ำตาลสด การผลิตน้ำตาลสดและน้ำตาลแว่นให้ได้มาตรฐานและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อให้เป็นที่ดึงดูดของผู้บริโภคมากขึ้น แต่ยังขาดองค์ความรู้ การปรับปรุงคุณภาพตาลโตนด พัฒนาวิธีการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีการแปรรูปเป็นน้ำตาลโตนดเหลว (ไซรัป) ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน ทางกลุ่มชาวบ้านและเยาวชนในพื้นที่ตำบลจะรังต้องการการส่งเสริมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเก็บเกี่ยว การปรับปรุงคุณภาพน้ำตาล และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากตาลโตนดเพื่อสร้างอาชีพ รายได้เสริมและขับเคลื่อนกลุ่มชาวบ้านและเยาวชนอย่างเป็นรูปธรรมสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและพื้นที่ชุ่มน้ำอยู่ติดแม่น้ำยะหริ่ง มีพืชเศรษฐกิจคือ ตาลโตนดจำนวนประมาณ 300,000 ต้น มีเนื้อที่ทั้งหมด 17 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นเนื้อที่จำนวน 10,625 ไร่ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำงานเกษตร เช่น ทำนา ไร่นาสวนผสม ทำน้ำตาลโตนด เลี้ยงสัตว์ ประมง รับจ้าง ค้าขาย ตำบลจะรัง ซึ่งเป็นพื้นที่มีต้นตาลขึ้นเป็นจำนวนมาก ในอดีตชาวบ้านมีวิถีชีวิตด้วยการประกอบอาชีพจากต้นตาลโตนด เช่น การทำน้ำตาลโตนด เก็บลูกตาลขาย ทำขนมลูกตาล จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้นชาวบ้านในชุมชนเล่าว่าในอดีตมีต้นตาลโตนดขึ้นอยู่ทั่วไปทั้งตำบลจะรัง แทบทุกครัวเรือนประกอบอาชีพทำนาควบคู่กับการประกอบอาชีพผลิตน้ำตาลจากต้นตาลโตนด แต่ปัจจุบันมีครัวเรือนที่ประกอบอาชีพนี้ลดลงไปเป็นจำนวนมากกว่าครึ่งตำบลและคาดว่าจะสูญสลายไปจากชุมชนในไม่ช้าถ้าไม่อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้ไว้ และในพื้นที่น้ำตาลโตนดมีราคาถูกมากจากการสำรวจและวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มและผู้นำท้องถิ่น พบว่ากลุ่มยังขาดองค์ความรู้เรื่องของการควบคุมคุณภาพน้ำตาลโตนด เทคนิคการแปรรูป การควบคุมคุณภาพ บรรจุภัณฑ์ วิธีการการบรรจุและการเก็บรักษาที่เหมาะสม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ตาลโตนดต่างๆ ให้มีความหลากหลายเพื่อเพิ่มศักยภาพในการจำหน่ายเชิงพาณิชย์ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์แปรรูปเช่น น้ำตาลโตนดผง น้ำตาลโตนดแว่นน้ำตาลโตนดเหลว น้ำส้มตาลโตนด แต่ยังต้องการพัฒนาในส่วนการเก็บรักษาสั้นและบรรจุภัณฑ์เพื่อให้ดึงดูดกับกลุ่มลูกค้าและผู้บริโภคดังนี้จึงมีความจำเป็นต้องเร่งปรับปรุงพัฒนาสูตร กระบวนการแปรรูป บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมรวมไปถึงรูปแบบฉลากบรรจุภัณฑ์ให้เกิดแรงจูงใจกับกลุ่มผู้บริโภคมากขึ้น รวมทั้งบ่มเพาะธุรกิจและสร้างผู้ประกอบการเป็นเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ ทั้งนี้ในการดำเนินงานของโครงการฯ จะเป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีโดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการผลิตน้ำตาลโตนด การแปรรูป บรรจุภัณฑ์ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์จากตาลโตนดให้กับกลุ่ม โดยการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จะประกอบด้วย อบรมเชิงปฏิบัติการการเตรียมวัตถุดิบ พัฒนาสูตรและกระบวนการแปรรูปตาลโตนด การสร้างนวัตกรรมทางด้านอาหารและการแปรรูป การใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสม การสร้างและออกแบบบรรจุภัณฑ์และแบรนด์สินค้า รวมถึงการให้คำแนะนำปรึกษาในการจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจให้กับกลุ่มชาวบ้านและเยาวชน โดยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร และด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะมีผลทำให้กลุ่มชาวบ้านและเยาวชนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้และมีความยั่งยืนตลอดไป ขณะเดียวกันโครงการฯ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดปัตตานี “การสร้างเสริมเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง จากฐานเกษตรอุตสาหกรรม ผลผลิตฮาลาล การค้า การบริการ และการท่องเที่ยว”เป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิต พืชเศรษฐกิจที่สำคัญตามอัตตลักษณ์ของพื้นที่ และเสริมสร้างหมู่บ้านต้นแบบตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปัจจุบันทางกลุ่มได้พยายามพัฒนาวิธีการเก็บเกี่ยวน้ำตาลสด การผลิตน้ำตาลสดและน้ำตาลแว่นให้ได้มาตรฐานและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อให้เป็นที่ดึงดูดของผู้บริโภคมากขึ้น แต่ยังขาดองค์ความรู้ การปรับปรุงคุณภาพตาลโตนด พัฒนาวิธีการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีการแปรรูปเป็นน้ำตาลโตนดเหลว (ไซรัป) ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน ทางกลุ่มชาวบ้านและเยาวชนในพื้นที่ตำบลจะรังต้องการการส่งเสริมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเก็บเกี่ยว การปรับปรุงคุณภาพน้ำตาล และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากตาลโตนดเพื่อสร้างอาชีพ รายได้เสริมและขับเคลื่อนกลุ่มชาวบ้านและเยาวชนอย่างเป็นรูปธรรม

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ด้านอาหาร
องค์ความรู้ด้านอาหารการแปรรูป
องค์ความรู้ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการตลาด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) เพื่อนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนากระบวนการผลิตและการแปรรูปตาลโตนดให้ได้มาตรฐานปลอดภัยให้กับกลุ่มชาวบ้าน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

1) จำนวนประชาชน/เยาวชนในตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และได้เรียนรู้ กระบวนการผลิตน้ำตาลโตนดและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานอาหารสะอาดปลอดภัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ในตลาด จำนวน 40 คน หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมาย

2) ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายนำองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ50

3) ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

0.02 0.01
2 2) เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดให้ได้มาตรฐานสามารถทางการแข่งขันการตลาด สร้างงาน อาชีพ และรายได้ให้กับชาวบ้านในพื้นที่

4) จำนวนผลิตภัณฑ์แปรรูปพร้อมบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาอย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์

0.00
3 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น

5) จำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มีส่วนร่วมโครงการอย่างน้อยจำนวน 8 คน

0.00
4 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ

6) จำนวน ชุมชนเครือข่าย 1 ชุมชน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
- นักศึกษาจาก ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี 8
- ประชาชน/เยาวชน กลุ่มผู้ผลิตตาลโตนด ตำบลจะรัง 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมวางแผนการดำเนินโครงการ (ครึ่งวัน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมวางแผนการดำเนินโครงการ (ครึ่งวัน)
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนากระบวนการผลิตและการแปรรูปตาลโตนดให้ได้มาตรฐานปลอดภัยให้กับกลุ่มชาวบ้าน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
  2. 2) เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดให้ได้มาตรฐานสามารถทางการแข่งขันการตลาด สร้างงาน อาชีพ และรายได้ให้กับชาวบ้านในพื้นที่
  3. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมวางแผนการดำเนินโครงการ (ครึ่งวัน)6,900 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน จนท./อาจารย์/นักศึกษา จำนวน 20 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท 2,400 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ,หมึกพิมพ์) 3,200 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 1 คันๆละ 1 วันๆ ละ 1,000 บาท 1,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค(ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์)300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 17 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แผนการดำเนินโครงการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จนท./อาจารย์/นักศึกษา จำนวน 20 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท 2,400 บาท

20 คน 120 1 2,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ,หมึกพิมพ์) 3,200 บาท

1 ครั้ง 3,200 1 3,200
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 1 คันๆละ 1 วันๆ ละ 1,000 บาท = 1,000 บาท

1 ครั้ง 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค(ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท

1 ชุด 300 1 300
รวมค่าใช้จ่าย 6,900

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจเก็บข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมาย/ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5 วัน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจเก็บข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมาย/ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5 วัน)
วัตถุประสงค์
  1. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
  2. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจเก็บข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมาย/ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5 วัน) 28,500 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 8 คนๆละ 5 วันๆละ 240 บาท 9,600 บาท
- ค่าจ้างเหมานักศึกษาเก็บข้อมูล/บันทึกข้อมูล 7,500 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดานจด/กระดาษ) 900 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆ 5 วันๆละ 1,000 บาท 10,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค(ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเป้าหมาย
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
- องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 8 คนๆละ 5 วันๆละ 240 บาท = 9,600 บาท

8 คน 1,200 1 9,600
อื่น ๆ

- ค่าจ้างเหมานักศึกษาเก็บข้อมูล/บันทึกข้อมูล = 7,500 บาท

1 ชิ้น 7,500 1 7,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดานจด/กระดาษ) = 900 บาท

1 ครั้ง 900 1 900
อื่น ๆ

- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆ 5 วันๆละ 1,000 บาท = 10,000 บาท

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค(ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) = 500 บาท

1 ชิ้น 500 1 500
รวมค่าใช้จ่าย 28,500

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างความเข้าใจร่วมกัน/กำหนดแผนการดำเนินงานร่วมกัน (ครึ่งวัน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างความเข้าใจร่วมกัน/กำหนดแผนการดำเนินงานร่วมกัน (ครึ่งวัน)
วัตถุประสงค์
  1. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
  2. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างความเข้าใจร่วมกัน/กำหนดแผนการดำเนินงานร่วมกัน (ครึ่งวัน) 15,000 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 1 วันๆละ 240 บาท 1,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ/อาจารย์ 15 คน /ผู้เข้าร่วม 35 คน
จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท 6,000 บาท
- ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ 3,000 บาท 3,000 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 1,300 บาท
- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำนวน 1 ชุดๆละ 1,000 บาท 1,000 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 วันๆละ 1,000 บาท 2,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค(ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แผนการดำเนินการงานโครงการร่วมกับชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
- องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง
- สาธารณสุขอำเภอยะหริ่ง
- พัฒนาชุมชนอำเภอยะหริ่ง
- เกษตรอำเภอยะหริ่ง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 1 วันๆละ 240 บาท = 1,200 บาท

5 คน 240 1 1,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ/อาจารย์ 15 คน /ผู้เข้าร่วม 35 คน จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท = 6,000 บาท

50 คน 120 1 6,000
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ 3,000 บาท = 3,000 บาท

1 ครั้ง 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ/กระดาน/ปากกาเมจิกฯลฯ) 1,300 บาท

1 ครั้ง 1,300 1 1,300
อื่น ๆ

ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำนวน 1 ชุดๆละ 1,000 บาท = 1,000 บาท

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ1 วันๆละ 1,000 บาท= 2,000 บาท

2 ครั้ง 1,000 1 2,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค(ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 500 บาท

1 ครั้ง 500 1 500
รวมค่าใช้จ่าย 15,000

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บผลิตผลตาลโตนดที่มีมาตรฐาน (2 วัน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บผลิตผลตาลโตนดที่มีมาตรฐาน (2 วัน)
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนากระบวนการผลิตและการแปรรูปตาลโตนดให้ได้มาตรฐานปลอดภัยให้กับกลุ่มชาวบ้าน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
  2. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
  3. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้การเก็บผลิตผลตาลโตนดที่มีมาตรฐาน (2 วัน)
104,800 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำวน 5 คนๆละ 4 วันๆละ 200 บาท 4,000 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร (อาจารย์ แบ่ง 4 กลุ่ม)
จำวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท 14,400 บาท
- ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร (นศ. แบ่ง 4 กลุ่ม) จำนวน 6 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท 3,600 บาท
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 160 บาท 1,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน
จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 120 บาท 12,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน
จำนวน 50 คนๆละ 4 มื้อๆละ 35 บาท 7,000 บาท
- ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท 1,200 บาท
- ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 2 วันๆละ3,000 บาท 6,000 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 580 บาท
* เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 40 คนๆละ 1 ชุดๆละ 50 บาท 2,000 บาท
* สมุดโน้ต จำนวน 40 คนๆละ 1 เล่มๆละ 20 บาท 800 บาท
* ปากกา จำนวน 40 คนๆละ 1 ด้ามๆละ 8 บาท 320 บาท
* กระเป๋า จำนวน 40 คนๆละ 1 ใบ ๆละ 50 บาท 2,000 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 3วันๆละ 1,000 บาท 6,000 บาท
- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำนวน 1 ชุดๆละ 1,000 บาท 1,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คน ๆละ 500 บาท 20,000 บาท
- ค่าวัสดุการเกษตร (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 500 บาท 20,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ เช่น ถุงมือ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 50 บาท 2,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 14 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ผู้ได้รับการอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้
- นักศึกษาที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
องค์ความรู้ด้านอาหาร
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำวน 5 คนๆละ 4 วันๆละ 200 บาท= 4,000 บาท

5 คน 800 1 4,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าสมนาคุณวิทยากร (อาจารย์ แบ่ง 4 กลุ่ม) จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท= 14,400 บาท

2 คน 7,200 1 14,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร(ผู้ช่วย) (นศ. แบ่ง 4 กลุ่ม) จำนวน 6 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท = 3,600 บาท

6 คน 600 1 3,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 160 บาท= 1,600 บาท

5 คน 320 1 1,600
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน) จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 120 บาท = 12,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน) จำนวน 50 คนๆละ 4 มื้อๆละ 35 บาท = 7,000 บาท

50 คน 380 1 19,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท =1,200 บาท

2 คน 600 1 1,200
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 2 วันๆละ3,000 บาท = 6,000 บาท

1 ครั้ง 6,000 1 6,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าวัสดุสำนักงาน 580 บาท * เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 40 คนๆละ 1 ชุดๆละ 50 บาท 2,000 บาท * สมุดโน้ต จำนวน 40 คนๆละ 1 เล่มๆละ 20 บาท 800 บาท * ปากกา จำนวน 40 คนๆละ 1 ด้ามๆละ 8 บาท 320 บาท * กระเป๋า จำนวน 40 คนๆละ 1 ใบ ๆละ 50 บาท 2,000 บาท

1 ครั้ง 5,700 1 5,700
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 3วันๆละ 1,000 บาท = 6,000 บาท

3 ครั้ง 2,000 1 6,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำนวน 1 ชุดๆละ 1,000 บาท = 1,000 บาท

1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คน ๆละ 500 บาท 20,000 บาท - ค่าวัสดุการเกษตร (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 500 บาท 20,000 บาท - ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ เช่น ถุงมือ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 50 บาท 2,000 บาท

40 คน 1,050 1 42,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท

1 ครั้ง 300 1 300
รวมค่าใช้จ่าย 104,800

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้แปรรูปผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเป็นน้ำตาลเหลวตาลโตนดที่มีมาตรฐาน (1 วัน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้แปรรูปผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเป็นน้ำตาลเหลวตาลโตนดที่มีมาตรฐาน (1 วัน)
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนากระบวนการผลิตและการแปรรูปตาลโตนดให้ได้มาตรฐานปลอดภัยให้กับกลุ่มชาวบ้าน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
  2. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
  3. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้แปรรูปผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเป็นน้ำตาลเหลวตาลโตนดที่มีมาตรฐาน (1 วัน) 78,600 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 200 บาท 2,000 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร (อาจารย์ /แบ่ง 4 กลุ่ม)
จำนวน 2 คนๆละ1 วันๆละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท 7,200 บาท
- ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร (นศ./แบ่ง 4 กลุ่ม) จำนวน 6 คนๆละ1 วันๆละ 300 บาท 1,800 บาท
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 1 วันๆละ 160 บาท 800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน
จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน
จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 35 บาท 3,500 บาท
- ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 1 วันๆละ 300 บาท 600 บาท
- ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ3,000 บาท 3,000 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 1,280 บาท
* เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 40 คนๆละ 100 บาท 4,000 บาท
* สมุดโน้ต จำนวน 40 คนๆละ 20 บาท 800 บาท
* ปากกา จำนวน 40 คนๆละ 8 บาท 320 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 2 วันๆละ 1,000 บาท 4,000 บาท
- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำนวน 1 ชุดละ 1,000 บาท 1,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 500 บาท 20,000 บาท
- ค่าวัสดุการเกษตร (วัสดุฝึกอบรม) จำวน 40 คนๆละ 500 บาท 20,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ เช่น ถุงมือ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 50 บาท 2,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
17 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ผู้ได้รับการอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้
- นักศึกษาที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
องค์ความรู้ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการตลาด
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 200 บาท = 2,000 บาท

5 คน 400 1 2,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าสมนาคุณวิทยากร (อาจารย์ /แบ่ง 4 กลุ่ม) จำนวน 2 คนๆละ1 วันๆละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท = 7,200 บาท

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรผู้ช่วย (นศ./แบ่ง 4 กลุ่ม) จำนวน 6 คนๆละ1 วันๆละ 300 บาท = 1,800 บาท

6 คน 300 1 1,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 1 วันๆละ 160 บาท = 800 บาท

5 คน 160 1 800
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท 6,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 40 คน/วิทยากร 2 คน จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 35 บาท 3,500 บาท

50 คน 190 1 9,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 1 วันๆละ 300 บาท = 600 บาท

2 คน 300 1 600
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ3,000 บาท = 3,000 บาท

1 ครั้ง 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าวัสดุสำนักงาน 1,280 บาท * เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 40 คนๆละ 100 บาท 4,000 บาท * สมุดโน้ต จำนวน 40 คนๆละ 20 บาท 800 บาท * ปากกา จำนวน 40 คนๆละ 8 บาท 320 บาท

1 ครั้ง 6,400 1 6,400
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 2 วันๆละ 1,000 บาท = 4,000 บาท

2 ครั้ง 2,000 1 4,000
อื่น ๆ

- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำนวน 1 ชุดละ 1,000 บาท = 1,000 บาท

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 500 บาท 20,000 บาท - ค่าวัสดุการเกษตร (วัสดุฝึกอบรม) จำวน 40 คนๆละ 500 บาท 20,000 บาท - ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ เช่น ถุงมือ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 40 คนๆละ 50 บาท 2,000 บาท

40 คน 1,050 1 42,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท

1 ครั้ง 300 1 300
รวมค่าใช้จ่าย 78,600

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการทำการตลาดผลิตภัณฑ์ตาลโตนด (2 วัน)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการทำการตลาดผลิตภัณฑ์ตาลโตนด (2 วัน)
วัตถุประสงค์
  1. 2) เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดให้ได้มาตรฐานสามารถทางการแข่งขันการตลาด สร้างงาน อาชีพ และรายได้ให้กับชาวบ้านในพื้นที่
  2. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
  3. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการทำการตลาดผลิตภัณฑ์ตาลโตนด (2 วัน)
86,920 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 5 คนๆละ 4 วันๆละ 200 บาท4,000 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร (อาจารย์/แบ่ง 3 กลุ่ม)
จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท14,400 บาท
- ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร (นศ./แบ่ง 3 กลุ่ม) จำนวน 4 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท 2,400 บาท
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 160 บาท 1,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 30 คน/วิทยากร 2 คน
จำนวน 40 คนๆละ 2 มื้อๆละ 120 บาท 9,600 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 30 คน/วิทยากร 2 คน
จำนวน 40 คนๆละ4 มื้อๆละ 35 บาท 5,600 บาท
- ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท 1,200 บาท
- ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้อง ๆละ 2 วันๆละ 3,000 บาท 6,000 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 980 บาท
* เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 30 คนๆละ 1 ชุดๆละ 100 บาท3,000 บาท
* สมุดโน้ต จำนวน 30 คนๆละ 1 เล่มๆละ 20 บาท600 บาท
* ปากกา จำนวน 30 คนๆละ 1 ด้ามๆละ 8 บาท240 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 3 วันๆละ 1,000 บาท 6,000 บาท
- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล)จำวน 1 ชุด ๆละ 1,000บาท1,000 บาท
- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ สติ๊กเกอร์ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 30 คนๆละ 500 บาท15,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว บรรจุภัณฑ์ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 30 คนๆละ 500 บาท15,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์)300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง 6 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ผู้ได้รับการอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้
- นักศึกษาที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
องค์ความรู้ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการตลาด
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 5 คนๆละ 4 วันๆละ 200 บาท = 4,000 บาท

5 คน 800 1 4,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าสมนาคุณวิทยากร (อาจารย์/แบ่ง 3 กลุ่ม) จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 6 ชม.ๆละ 600 บาท = 14,400 บาท

2 คน 7,200 1 14,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรผู้ช่วย (นศ./แบ่ง 3 กลุ่ม) จำนวน 4 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท = 2,400 บาท

4 คน 600 1 2,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 160 บาท = 1,600 บาท

5 คน 320 1 1,600
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 30 คน/วิทยากร 2 คน จำนวน 40 คนๆละ 2 มื้อๆละ 120 บาท = 9,600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จนท./นศ 8 คน /ผู้เข้าร่วม 30 คน/วิทยากร 2 คน จำนวน 40 คนๆละ4 มื้อๆละ 35 บาท =5,600 บาท

40 คน 380 1 15,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 2 วันๆละ 300 บาท= 1,200 บาท

2 คน 600 1 1,200
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้อง ๆละ 2 วันๆละ 3,000 บาท = 6,000 บาท

1 ครั้ง 6,000 1 6,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าวัสดุสำนักงาน 980 บาท * เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 30 คนๆละ 1 ชุดๆละ 100 บาท 3,000 บาท * สมุดโน้ต จำนวน 30 คนๆละ 1 เล่มๆละ 20 บาท 600 บาท * ปากกา จำนวน 30 คนๆละ 1 ด้ามๆละ 8 บาท 240 บาท

1 ครั้ง 4,820 1 4,820
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 3 วันๆละ 1,000 บาท = 6,000 บาท

3 ครั้ง 2,000 1 6,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ไวนิล) จำวน 1 ชุด ๆละ 1,000 บาท = ,000 บาท

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ สติ๊กเกอร์ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 30 คนๆละ 500 บาท 15,000 บาท - ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว บรรจุภัณฑ์ (วัสดุฝึกอบรม) จำนวน 30 คนๆละ 500 บาท 15,000 บาท

30 คน 1,000 1 30,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท

1 ครั้ง 300 1 300
รวมค่าใช้จ่าย 86,920

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 7 วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและ/หรือมาตรฐานอาหารปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ตาลโตนด/ผลิตภัณฑ์แปรรูปตาลโตนด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 7 วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและ/หรือมาตรฐานอาหารปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ตาลโตนด/ผลิตภัณฑ์แปรรูปตาลโตนด
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนากระบวนการผลิตและการแปรรูปตาลโตนดให้ได้มาตรฐานปลอดภัยให้กับกลุ่มชาวบ้าน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 7 วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและ/หรือมาตรฐานอาหารปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ตาลโตนด/ผลิตภัณฑ์แปรรูปตาลโตนด 32,800 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 240 บาท 2,400 บาท
- ค่าจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์ (น้ำตาลเหลว) ข้อมูลโภชนาการ/Food safty 25,000 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุการเกษตร (ตัวอย่างผลิตภัณฑ์วิเคราะห์) 3,000 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 1 คันๆละ 2 วันๆละ 1,000 บาท 2,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการและ/หรือมาตรฐานอาหารปลอดภัย
ทรัพยากรอื่น ๆ
องค์ความรู้ด้านคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนด
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คนๆละ 2 วันๆละ 240 บาท = 2,400 บาท

5 คน 480 1 2,400
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์ (น้ำตาลเหลว) ข้อมูลโภชนาการ/Food safety 25,000 บาท

1 ชิ้น 25,000 1 25,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุการเกษตร (ตัวอย่างผลิตภัณฑ์วิเคราะห์) 3,000 บาท

1 ครั้ง 3,000 1 3,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 1 คันๆละ 2 วันๆละ 1,000 บาท = 2,000 บาท

2 ครั้ง 1,000 1 2,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 400 บาท

1 ครั้ง 400 1 400
รวมค่าใช้จ่าย 32,800

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมที่ 8 ติดตามการนำองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้หลังอบรม (จำนวน 5 ครั้ง)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 8 ติดตามการนำองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้หลังอบรม (จำนวน 5 ครั้ง)
วัตถุประสงค์
  1. 1) เพื่อนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนากระบวนการผลิตและการแปรรูปตาลโตนดให้ได้มาตรฐานปลอดภัยให้กับกลุ่มชาวบ้าน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
  2. 2) เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดให้ได้มาตรฐานสามารถทางการแข่งขันการตลาด สร้างงาน อาชีพ และรายได้ให้กับชาวบ้านในพื้นที่
  3. 3) เพื่อส่งเสริมเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เป็นประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ท้องถิ่น
  4. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 8 ติดตามการนำองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้หลังอบรม (จำนวน 5 ครั้ง)32,500 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 5 คนๆละ 5 วันๆละ 200 บาท 5,000 บาท
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน ๆละ 5 วันๆละ 240 บาท6,000 บาท
- ค่าจ้างเหมานักศึกษาติดตามเก็บข้อมูล/บันทึกข้อมูล 10,000 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 1,000 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 5 วันๆละ 1,000 บาท10,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์)500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง 29 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- รายงานผลการติดตามการนำองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 5 คนๆละ 5 วันๆละ 200 บาท = 5,000 บาท

5 คน 1,000 1 5,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน ๆละ 5 วันๆละ 240 บาท = 6,000 บาท

5 คน 1,200 1 6,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมานักศึกษาติดตามเก็บข้อมูล/บันทึกข้อมูล (ตลอดกิจกรรมนี้) 10,000 บาท

1 ชิ้น 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน 1,000 บาท

1 ครั้ง 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ 5 วันๆละ 1,000 บาท = 10,000 บาท

5 ครั้ง 2,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 500 บาท

1 ครั้ง 500 1 500
รวมค่าใช้จ่าย 32,500

กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมที่ 9 ประชุมประเมินผลการดำเนินและสรุปผลพร้อมจัดทำรายงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 9 ประชุมประเมินผลการดำเนินและสรุปผลพร้อมจัดทำรายงาน
วัตถุประสงค์
  1. 4) เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 9 ประชุมประเมินผลการดำเนินและสรุปผลพร้อมจัดทำรายงาน 31,500 บาท
งบดำเนินงาน
1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1.1 ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 4 คนๆละ 5 วันๆละ 200 บาท 4,000 บาท
1.2 ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน ๆละ 2 วัน 240 บาท 2,400 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จนท./อาจารย์/นศ. 15 คน/ผู้เข้าร่วม 35 คน
จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท 6,000 บาท
- ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ 3,000 บาท 3,000 บาท
- ค่าจ้างเหมานักศึกษาพิมพ์รายงาน 4,800 บาท
1.3 ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน/กระดาษ/หมึกพิมพ์/เข้าเล่มรายงาน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ3 วัน 1,000 บาท 6,000 บาท
2. ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- คณะ/หน่วยงานภายใน ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี
- องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง
- สาธารณสุขอำเภอยะหริ่ง
- พัฒนาชุมชนอำเภอยะหริ่ง
- เกษตรอำเภอยะหริ่ง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนล่วงเวลา จำนวน 4 คนๆละ 5 วันๆละ 200 บาท = 4,000 บาท

5 คน 800 1 4,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน ๆละ 2 วัน 240 บาท = 2,400 บาท

5 คน 480 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (จนท./อาจารย์/นศ. 15 คน/ผู้เข้าร่วม 35 คน)จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท = 6,000 บาท

50 คน 120 1 6,000
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่ห้องประชุม/เครื่องเสียง จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ 3,000 บาท =3,000 บาท

1 ครั้ง 3,000 1 3,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมานักศึกษาพิมพ์รายงาน 4,800 บาท

1 ชิ้น 4,800 1 4,800
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน/กระดาษ/หมึกพิมพ์/เข้าเล่มรายงาน 5,000 บาท

1 ครั้ง 5,000 1 5,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 2 คันๆละ3 วัน 1,000 บาท = 6,000 บาท

3 ครั้ง 2,000 1 6,000
อื่น ๆ

ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์/ค่าไปรษณีย์) 300 บาท

1 ครั้ง 300 1 300
รวมค่าใช้จ่าย 31,500

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 417,520.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 43,800.00 82,100.00 142,320.00 149,300.00 417,520.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 10.49% 19.66% 34.09% 35.76% 100.00%

11. งบประมาณ

417,520.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1) จำนวนประชาชน/เยาวชนในตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และได้เรียนรู้ กระบวนการผลิตน้ำตาลโตนดและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานอาหารสะอาดปลอดภัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ในตลาด จำนวน 40 คน หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมาย
2) ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายนำองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ50
3) ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4) จำนวนผลิตภัณฑ์แปรรูปพร้อมบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนา 1 ผลิตภัณฑ์
1) จำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มีส่วนร่วมโครงการอย่างน้อยจำนวน 8 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถผลิตน้ำตาลโตนดและแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานอาหารสะอาดปลอดภัย 1) นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 และเป็นประโยชน์ช่วยเหลือชุมชนท้องถิ่น
2) อาจารย์ได้นำองค์ความรู้ที่มีคุณค่าไปถ่ายทอดให้กับชุมชนและบูรณาการกับการเรียนการสอนให้มีความเชื่อมโยงกับความต้องการของชุมชน
3) มหาวิทยาลัยได้พัฒนาจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณการร่วมกับการปฏิบัติงานในชุมชน (Community Integrated Learning : CIL) ผ่านโครงการที่ดำเนินการร่วมกับชุมชน (Project-based Learning : PBL) และสามารถเทียบโอนหน่วยกิตในระบบการศึกษาได้
ผลกระทบ (Impact) 1) ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี และพื้นที่ใกล้เคียงการใช้ประโยชน์ทรัพยากรจากตาลโตนดในท้องถิ่น และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตจากการแปรรูปตาลโตนดเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ
2) ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เน้นการใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ในชุมชนและส่งเสริมให้ชาวบ้านเห็นความสำคัญของพืชผลทรัพยากรที่มีคุณค่าที่มีในท้องถิ่น กอปรกับนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาผสานใช้ในกระบวนการผลิตและสร้างกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานและปลอดภัยเพื่อให้ผู้บริโภคผู้บริโภคมีความพึงพอใจและมีสุขภาพที่ปลอดภัย และสร้างความเข็มแข็งและทักษะการทำงานเป็นทีมของกลุ่มชาวบ้านผู้เข้าร่วมโครงการ สร้างอาชีพเสริมและลดปัญหาการว่างงานในชุมชน
1) ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม นักศึกษาที่เข้ามามีส่วนร่วมได้ประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏิบัติจริงเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่สร้างประโยชน์ต่อนักศึกษาและชุมชนไปพร้อมๆ กัน และได้สร้างจิตสำนึกจิตอาสาเพื่อช่วยกันพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและประเทศให้เจริญก้าวหน้า
นำเข้าสู่ระบบโดย nathamon.w nathamon.w เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 12:58 น.