การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย ชุมชนบ้านหนองแวงใต้ ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย ชุมชนบ้านหนองแวงใต้ ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย ชุมชนบ้านหนองแวงใต้ ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ชุมชนบ้านหนองแวงใต้ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกสิทธิ์ เซ็นหอม150 หมู่ 6 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000062-1958862ลำดับ
ที่ รหัสประจำตัวประชาชนชื่อ – สกุล สังกัดการติดต่อสถานะ
1. 1400700210517 นายสิปปกร ภูคำยอด สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ ชั้นปีที่ 3 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
2. 1409901671005 นายสุริยพงศ์ ทัพซ้ายสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ ชั้นปีที่ 3 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
3. 140001558551 นายบุญญารักษ์ คำสอน โปรแกรมวิชาช่างเครื่องมือกลอัตโนมัติ ชั้นปีที่ 1 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
4. 1409901383743 นายจีราสิทธิ์ เซ็นหอม โปรแกรมวิชาช่างเครื่องมือกลอัตโนมัติ ชั้นปีที่ 1 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
5. 1409901255958 นางสาว สุรัชดา ตาคม สาขาวิชาครุศาสตร์คอมพิวเตอร์ฯชั้นปีที่ 1 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
6. 1409901710621 นางสาวมิ่งขวัญ นามวันวันสาขาการจัดการ ชั้นปีที่ 2 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
7. 1200901227079 นางสาวปัญญาพร ไชยสีหา สาขาการจัดการ ชั้นปีที่ 2 มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (นักศึกษา)
8. 3400800348410 ผศ. เอกสิทธิ์ เซ็นหอม สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการมทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่นโทร. 062-1958862 (อาจารย์)
9. 3409900333439 ดร.ฉัตรแก้ว สุริยะภา โปรแกรมวิชาช่างเครื่องมือกลอัตโนมัติ มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40000 (อาจารย์)
10. 3450101225963 นายทองทวี จิตรพรมมา สาขาวิชาครุศาสตร์คอมพิวเตอร์ฯ มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่นโทร. 062-1958862 (อาจารย์)
11. 1449900081417 นางสาวปนัดดา จันทะกล สาขาการจัดการ มทร.อีสานขอนแก่น 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่นโทร. 082-1528310 (อาจารย์)
12. 3469900235101 นายอุทัย ธารพรศรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 62/1 ถ.เกษตรสมบูรณ์ ต.อ.เมือง จ. กาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์โทร.093-3197795 (อาจารย์)
13. 3960300228348 นางจิราพร เซ็นหอม สำนักงานคณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 150 ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ. ขอนแก่นโทร. 085-7477373

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ ยางตลาด อิตื้อ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ประวัติความเป็นมา
ตำบลอิตื้อ เป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอยางตลาด มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1-4 บ้านแก หมู่ 5 บ้านดอนขี หมู่ 6 บ้านดอนสวรรค์ หมู่ 7 บ้านยางคำ หมู่ 8 บ้านหนองแวงบ่อแก้ว หมู่ 9 บ้านดอนลำดวน หมู่ 10 บ้านหนองแวงใต้ หมู่ 11 บ้านคำขอนแก่น
เขตพื้นที่
ทิศเหนือ ติดกับ ต.กุดโดน อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์
ทิศใต้ ติดกับ ต.หัวนาคำ อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดกับ ต.คลองขาม อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก ติดกับ ต.โนนสูง อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
อาชีพ
อาชีพหลัก ทำนา
อาชีพเสริม รับจ้าง
สาธารณูปโภค
- มีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
- มีประปาใช้ 1,944 ครัวเรือน
- โทรศัพท์สาธารณะ 18 ตู้
การเดินทาง
การเดินทางสามารถเดินทางได้ 2 เส้นทาง ได้แก่
1. ถนนสายยางตลาด - ขอนแก่น ถึงบ้านไทยเจริญ (ฮ่องฮี) เลี้ยวขวามาทางอำเภอห้วยเม็ก พอถึงทางเข้าบ้านแก เลี้ยวซ้ายตรงมาอีกประมาณ 1.5 กม. ถึงที่ทำการ อบต.อิตื้อ สภาพถนนลาดยางตลอดสาย ระยะทางจาก อบต.อิตื้อ ประมาณ 25 กม.
2. ถนนสายทางโค้งยางตลาด เลี้ยวขวาเข้าบ้านค้อ (ถนนลูกรัง) ตรงมาถึงบ้านสา เป็นถนนลาดยาง เลี้ยวขวามาตามถนนลาดยาง พอมาถึงทางเข้าบ้านแก เลี้ยวซ้ายตรงมาอีกประมาณ 1.5 กม. ถึงที่ทำการ อบต.อิตื้อ ระยะทางจากยางตลาด - ที่ทำการ อบต.อิตื้อ ประมาณ 18 กม.
ข้อมูลศักยภาพทรัพยากร ของบ้านหนองแวงใต้ หมู่ 10 ตำบลอิตื้อ เป็นชุมชนเกษตรกรรรม และมีการรวมตัวเพื่อทำผลิตภัณฑ์ OTOP เป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือการทำเฟอร์นิเจอร์หวาย เพื่อจัดจำหน่ายภายในจังหวัด เขตภาคอีสาน และทั่วทั้งประเทศ
ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นได้แก่
เห็ด , ขนมทองม้วน , ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์หวาย
ประเด็นปัญหาของกลุ่มเฟอร์นิเจอร์หวายบ้านหนองแวงใต้หมู่ 10 ตำบลอิตื้อ
อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ มีดังนี้
1. ปัญหาการเตรียมหวายก่อนทำผลิตภัณฑ์คือการดัดงอหวายให้ตรงก่อนทำการ
ปอกผิวหวาย
2. ปัญหาการปอกผิวหวายบริเวณข้อหวาย ที่มีขนาดแตกต่างกันให้ผลิตภัณฑ์
ไม่สวยงาม ปัจจุบันยังปอกหวายด้วยมีดปอกหวายด้วยมือ
3. ปัญหาการขัดหวายยังไม่รวดเร็ว หวายไม่เรียบ และยังขาดเครื่องมือ
เครื่องจักรเพื่อช่วยในการผลิต
4. ปัญหาเรื่องของการตลาด และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์หวาย
จากการเก็บข้อมูลจากผู้นำชุมชนพบว่า ชุมชนมีความต้องการที่จะประกอบอาชีพในชุมชนให้มีความยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนได้ดำรงชีวิต สามารถพึงพาตนเองได้ ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับการแก้ปัญหาในประเด็น“เรื่องการลดปัญหาความยากจน” โดยการสร้างงานสร้างอาชีพให้ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ชาวบ้านหนองแวงใต้ หมู่ 10 ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด ได้รวมกลุ่มกันทำเฟอร์นิเจอร์หวายเพื่อจำหน่ายเพื่อเสริมรายได้ ในขณะเดียวกันสำนักงานแรงงานจังหวัดกาฬสินธุ์ได้เข้าไปส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน และสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพ การทำเฟอร์นิเจอร์หวายเป็นสินค้าหนึ่งที่ทางชุมชนได้มีการดำเนินการ แต่ยังมีปัญหาในกระบวนการผลิตและการตลาด เช่น การวางแผนการผลิต กระบวนการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์การใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีช่วยในการผลิตผลิตภัณฑ์ การจำหน่ายและการจัดส่งสินค้า การช่องทางการขายสินค้า เป็นต้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. องค์ความรู้ที่ใช้ในการดำเนินโครงการคือด้านวิศวกรรมอุตสาหการด้านเครื่องจักรกลอัตโนมัติ ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และการบริหารจัดการธุรกิจ
2. นวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการคือ เครื่องปอกผิวหวาย เครื่องขัดผิวหวาย และเครื่องอบผิวหวาย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้มีทักษะในการผลิตเฟอร์นิเจอร์หวายมากขึ้น

จำนวนเพิ่มขึ้น 20 %

20.00 20.00
2 2. เพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำเฟอร์นิเจอร์หวาย

สร้างนวัตกรรมดังนี้ 1. เครื่องปอกผิวหวาย 2. เครื่องขัดผิวหวาย 3. เครื่องอบผิวหวาย

3.00 3.00
3 3. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสารสนเทศ การตลาด การบริหารจัดการให้กับกลุ่มเกษตรกร

ถ่ายทอดเทคโนโลยีและความพึงพอใจของเกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

20.00 1.00
4 4. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมในการผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย

ถ่ายทอดเทคโนโลยีและความพึงพอใจของเกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

20.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การสำรวจสภาพปัจจุบันและความต้องการของกลุ่มเฟอร์นิเจอร์หวาย

ชื่อกิจกรรม
การสำรวจสภาพปัจจุบันและความต้องการของกลุ่มเฟอร์นิเจอร์หวาย
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้มีทักษะในการผลิตเฟอร์นิเจอร์หวายมากขึ้น
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและอาจารย์ลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูลความต้องการของกลุ่มเฟอร์นิเจอร์หวาย โดยละเอียดเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขการผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ข้อมูลการสำรวจความต้องการของกลุ่มเฟอร์นิเจอร์หวาย
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สนับสนุนในการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 10 เที่ยว 2,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างพิมพ์งาน และทำรูปบเล่ม

5 ชุด 250 1 1,250
อื่น ๆ

ค่าที่พักอาจารย์และนักศึกษา

13 คน 1,500 1 19,500
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมานักศึกษาทำโครงการ

7 คน 10,850 1 75,950
รวมค่าใช้จ่าย 116,700

กิจกรรมที่ 2 การออกแบบและสร้างเครื่องสำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบและสร้างเครื่องสำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
วัตถุประสงค์
  1. 2. เพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำเฟอร์นิเจอร์หวาย
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์และเกษตรกรของกลุ่มเฟอร์นิเจอร์ร่วมออกแบบและพัฒนาเครื่องมือ เครื่องจักร สำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้เครื่องมือ เครื่องจักร สำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ร่วมในการออกแบบเครื่องมือ เครื่องจักร สำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาผลิตเครื่องปอกผิวหวาย เครื่องขัดผิวหวาย เครื่องอบผิวหวาย และทำแอพพลิเคชั่น

4 ชุด 81,125 1 324,500
รวมค่าใช้จ่าย 324,500

กิจกรรมที่ 3 การถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้เครื่องสำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้เครื่องสำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
วัตถุประสงค์
  1. 3. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสารสนเทศ การตลาด การบริหารจัดการให้กับกลุ่มเกษตรกร
  2. 4. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมในการผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์และวิทยากรร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้เครื่องสำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้เครื่องสำหรับผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย และการจัดการการตลาด
ทรัพยากรอื่น ๆ
ทรัพยากร อุปกรณ์ ใช้จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ส่งวิทยากรร่วมในการถ่ายทอดเทคโนโลยี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

30 คน 25 8 6,000
ค่าอาหาร 30 คน 100 8 24,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 6 คน 600 8 28,800
รวมค่าใช้จ่าย 58,800

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 28,800.00 44,000.00 427,200.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 5.76% 8.80% 85.44% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ได้กลุ่มผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนเพิ่มมากขึ้น1 ชุมชน
2. ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการจัดการการตลาด 20 คน
1. ได้จำนวนนักศึกษาที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น7 คน
2. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการจัดการการตลาด 7 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้และยกระดับชุมชนเพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคมจำนวน 1 ชุมชน 1. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) 1. ลดปัญหา ความยากจนของชุมชน และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และ เศรษฐกิจ 1. นักศึกษานำความรู้ไปสู่ชุมชนของตนเอง และจะลดปัญหา ความยากจนของชุมชน และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และ เศรษฐกิจได้
นำเข้าสู่ระบบโดย akkasit akkasit เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 12:52 น.