การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อจัดจำหน่ายในช่องการค้าแบบออนไลน์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อจัดจำหน่ายในช่องการค้าแบบออนไลน์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อจัดจำหน่ายในช่องการค้าแบบออนไลน์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ไม่มีชุมชนท่าเรือภูสิงห์นายชัพวิชญ์คำภิรมย์คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 4600008074994981. นางสาววิจิตรายาโน เลขที่บัตรประชาชน 1461400096698 นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2. นางสาวตรึงตา ถิตย์ผาด เลขที่บัตรประชาชน 1469900419108นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3. นางสาวภาวิณี รัตนพลแสน เลขที่บัตรประชาชน 1219900645410นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4. นางสาวปวันรัตน์ ถิตย์ภักดี เลขที่บัตรประชาชน 1469900433216 นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5. นายศักดิ์ชัยสาระขัน เลขที่บัตรประชาชน 1461300145867 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
6.นางสาวเจนจิรารจนา เลขที่บัตรประชาชน 1460600147171 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7. นางสาวสกุลรัต์พรหมเจริญผล เลขที่บัตรประชาชน 1210200086827นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8. นางสาววิไลวรรณห้องอภัย เลขที่บัตรประชาชน 1460900103218 นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
9. นางสาวเสาวรัตน์ภูชมศรี1 เลขที่บัตรประชาชน 461300176886นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
10. นางสาวสายรุ่งไร่เกีรติ เลขที่บัตรประชาชน 1461300180654นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
11. นายชัพวิชญ์ คำภิรมย์ เลขที่บัตรประชาชน 3460100948686 อาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
12. นายจุมพล จำรูญเลขที่บัตรประชาชน 3360300208296 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
13. นายชัชวาลย์ ศรีมนตรี เลขที่บัตรประชาชน 3449900118147 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
14. นางสุกัญญา ดวงอุปมา เลขที่บัตรประชาชน 3480200206819 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมสาขาวิชาการจัดการทั่วไปคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
15. นายสุพจน์ ดีบุญมี เลขที่บัตรประชาชน 1400500038648 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมสาขาวิชาบริหารธุรกิจคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ประวัติความเป็นมา ตำบลภูสิงห์ แยกการปกครองออกจากตำบลโนนศิลา เมื่อปี พ.ศ.2509 มีจำนวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านโนนสมบูรณ์ หมู่ 2 บ้านโนนอุดม หมู่ 3 บ้านดอนดู่ หมู่ 4 บ้านดงน้อย หมู่ 5 บ้านหนองฝาย หมู่ 6 บ้านท่าศรี หมู่ 7 บ้านคำชมภู หมู่ 8 บ้านโนนปลาขาว และหมู่ 9 บ้านท่าเรือภูสิงห์ พื้นที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 35.10 ตร.กม. หรือประมาณ 21,937 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ลาดเชิงเขาบางส่วน มีพื้นที่ติดกับเขื่อนลำปาวจึงมีน้ำใช้ตลอดปีประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมและประมงน้ำจืดประชากรในชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์มีศักยภาพในการทำประมงน้ำจืดทั้งการเลี้ยงปลาในกระชัง เลี้ยงปลาในบ่อดิน รวมไปถึงการจับปลาตามธรรมชาติ เนื่องจากที่ตั้งชุมชนอยู่ติดเขื่อนลำปาวทำให้มีแหล่งที่อยู่อาศัยของปลาหลากหลายชนิดและมีปลาอาศัยอยู่อย่างชุกชุม และประชากรในพื้นที่สามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดที่มีคุณภาพ สด สะอาด รสชาติดี ยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเช่น ปลาส้ม แหนมปลา ปลาร้าทรงเครื่อง ปลาร้าบอก ปลาแห้ง ปลาแดดเดียว เป็นต้น โดยผลิตภัณฑ์ต่างๆจะจำหน่ายตามท้องถนนให้กับผู้สัญจรด้วยรถยนต์หรือจักรยานยนที่เดินทางผ่านมาในชุมชนเป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยเป็นประเทศซึ่งประกอบอาชีพเกษตรกรรมในรูปแบบต่างๆ ยกตัวอย่างเช่นการเพาะปลูก ปศุสัตว์ ประมงน้ำจืด อันเป็นรายได้หลักของประเทศมาอย่างยาวนาน ดังนั้นอาชีพเกษตรกรรมไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตามถือได้ว่าเป็นอาชีพซึ่งสร้างมูลค่าเงินหล่อเลี้ยงประเทศมานานนับศตวรรษและเป็นรายได้หลักของเกษตรกรทุกครัวเรือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ยังไม่มีหน่วยงานและองค์กรผู้ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าถึง ยกตัวอย่างเช่น พื้นที่ในภาคอีสานตอนกลาง ได้แก่จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือกลุ่มจังหวัดเศรษฐกิจ ร้อย แก่น สาร สินธุ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ประชากรผู้อยู่อาศัยประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งบางแห่งเป็นกลุ่มเกษตรกลุ่มย่อยที่มีชื่อเสียง เช่น กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม อำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มปลูกข้าวหอมมะลิ ทุ่งกลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด ผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้น จากตัวอย่างที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าธุรกิจการเกษตรในกลุ่มจังหวัดดังกล่าวมีชื่อเสียงโด่งดังและมีกำลังการผลิตที่มีประสิทธิภาพ แต่ยังมีปัญหาเรื่องการกระจายสินค้าเกษตรไปยังผู้บริโภค รวมไปถึงระบบประชาสัมพันธ์และรูปแบบการจัดจำหน่ายที่ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายยังไม่สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ครบทุกช่องทาง โดยสาเหตุหลักเนื่องจากช่องทางการจัดจำหน่ายไม่เพียงพอและประชาชนผู้ผลิตสินค้าเกาตรไม่มีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นทีนิยมของผู้บริโภคในปัจจุบัน และเมื่อศึกษาเชิงสถิติย้อนหลังจากปีก่อนหน้าพบว่าสินค้าเกษตรแทบแทบทุกประเภทมักประสบปัญหาภาวะสินค้าล้นตลาดทำให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ เช่น วิกฤติการราคาข้าวเปลือกตกต่ำ เนื่องจากช่วงเวลาการจำหน่ายที่จำกัดและมีสินค้าทางการเกษตรออกมาสู่ตลาดพร้อมกัน รวมไปถึงการเน่าเสียของสินค้าเกษตรบางประเภทที่ไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน เช่น ผลิตภัณฑ์จากปลาหรือเนื้อสัตว์ โดยในเบื้องต้นเกษตรกรได้มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สินค้าทางการเกษตรของตนให้อยู่ในรูปแบบอื่นยกตัวอย่างเช่น การแปรรูปข้าวสารหรือมันแกวให้เป็นขนมขบเคี้ยว การทำปลาร้าทรงเครื่อง การทำแหนมปลา การทำปลาส้ม แต่เนื่องด้วยช่องทางการจัดจำหน่ายที่ค่อนข้างจำกัดทำให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่พัฒนาขึ้นไม่สามารถจำหน่ายได้อย่างแพร่หลายและสร้างรายได้ยังไม่เต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าและผลิตภัณฑ์จากปลาน้ำจืดซึ่งมีมากในจังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์ประเภทดังกล่าวต้องอาศัยการแปรรูปและมีรูปแบบการจัดเก็บที่จำเพาะและมีต้นทุนในการจัดเก็บสินค้า เช่น ต้องจัดซื้อตู้แช่ หรือน้ำแข็งเพื่อยืดอายุของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากสินค้าเน่าเสียได้ง่าย ทำให้ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายต้องการที่จะจำหน่ายสินค้าให้ทันเวลาซึ่งเกิดปัญหาเช่นเดียวกับสินค้าเกษตรประเภทอื่น ๆ อาจกล่าวได้ว่าปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่ายและช่วงเวลาการจำหน่ายที่จำกัดเป็นประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่งซึ่งทำให้การจัดจำหน่ายมีปัญหาจากเหตุผลข้างต้นคณะผู้วิจัยจึงมุ่งเน้นจัดทำช่องทางการจัดจำหน่ายในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ่งมีผู้ให้บริการจำนวนมากมาแก้ปัญหาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากปลาโดยอาศัยกรณีศึกษาในการการส่งเสริมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ๆจากประมงน้ำจืดในเขื่อนลำปาว ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์แบบหลายช่องทาง รวมไปถึงการให้ความรู้และอบรมทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในการใช้งานช่องทางการจำหน่ายแบบออนไลน์ของเกษตรกรในพื้นที่ ทั้งนี้หลังจากการสำรวจข้อมูลความต้องการเบื้องต้นของผู้จำหน่ายสินค้าเกษตรทำให้พบนัยสำคัญข้อหนึ่งคือ กลุ่มเกษตรกรเชื่อว่าหากเกษตรกรมีทักษะการใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะเป็นการช่วยส่งเสริมรายได้จากการจำหน่ายได้ดียิ่งขึ้น และเกษตรกรสนใจระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างมากและเชื่อว่าองค์ความรู้ที่จะได้สามารถแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้มีความกินดีอยู่ดีได้อย่างยั่งยืนเช่นกันจากการลงพื้นที่สำรวจกับสมาชิกสภาเทศบาลตำบลภูสิงห์พบว่าประชาชนในพื้นที่มีความสามารถในการทำประมงน้ำจืดและได้ผลผลิตปลาน้ำจืดเพื่อจำหน่ายเ้นจำนวนมากหากแต่การจำหน่า่ยปลาน้ำจืดยังมีข้อจำกัดอยู่ค่อนข้างมากเช่น ต้นทุนในการจัดเก็บที่ค่อนข้างสูงเช่น ต้องซื้อตู้แช่และน้ำแข้งเนื่องจากผลผลิตเน่าเสียง่ายมาก ประชากรในพื้นที่จึงมีการแก้ไขปัญหาเบื้องต้อนด้วยวิธีการถนอมอาหาร เช่น การทำปลาส้ม การทำปลาตากแห้ง การทำปลาร้า การทำปลาร้าทรงเครื่อง ซึ่งได้สินค้าที่มีคุณภาพ มีความต้องการของตลาด หากแต่สินค้าบางชนิดยังซ้ำกับผู้ผลิตรายอื่นหรือเป็นสินค้าที่ไม่มีจุดเด่นหรือจุดขายเพียงพอ ชุมชนจึงต้องการองค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเช่น น้ำพริกปลากรอบ น้ำพริกปลาซิวแก้ว หรือข้าวเกรียบปลาเป็นต้น นอกจากนี้ประชากรในพื้นที่ยังต้องการองค์ความรู้จากทั้งภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมทักษะการขายสินค้าในช่องทางออนไลน์ซึ่งประชากรในพื้นที่ยังขาดทักษะอยู่มาก โดยกลุ่มประชากรในพื้นที่เชื่อว่าหากมีทักษะการใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์ จะเป็นการช่วยส่งเสริมรายได้จากการจำหน่ายได้ดียิ่งขึ้นและเชื่อว่าองค์ความรู้ที่จะได้สามารถแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้มีความกินดีอยู่ดีได้อย่างยั่งยืนเช่นกัน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

6.1 สินค้าทางการเกษตร สินค้าเกษตร หมายถึง ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์อันเกิดจากการกสิกรรม การประมง การปศุสัตว์ หรือการป่าไม้ และผลพลอยได้ของผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมาก่อนหน้า ทั้งนี้สินค้าทางการเกษตรจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่พึ่งพิงปัจจัยในการผลิตจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาโดยปัญหาหลักๆประกอบด้วย สินค้าเน่าเสียง่าย ปริมาณการผลิตแต่ละปีไม่แน่นอน ต้องพึ่งพาระยะเวลาตามฤดูกาล สินค้ามีความเหมาะสมในแต่ละทีแตกต่างกัน คุณภาพสินค้าเกษตรเปลี่ยนแปลงได้ง่าย จากเหตุปัจจัยดังกล่าวทำให้สินค้าการเกษตรประสบปัญหาด้านราคา เกษตรกรจึงมีการแปรรูปสินค้าเกษตรในลักษณะต่างๆ ทั้งนี้เพื่อทำให้สินค้าทางการเกษตรสามารถเก็บไว้จำหน่ายได้นานยกตัวอย่างเช่น การผลิตขนมขบเคี้ยวจากธัญพืชหรือผลไม้ อีกนัยหนึ่งการกระทำในลักษณะดังกล่าวถือเป็นรูปแบบการเพิ่มมูลค่าในการจัดจำหน่ายให้แก่สินค้าทางการเกษตร ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงด้านราคาไปในตัว
ทั้งนี้จากสถิติซึ่งผ่านการสำรวจโดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของสินค้าทางการเกษตรมีอัตราการเติบโตขึ้นร้อยละ 4.6 ในปีพ.ศ. 2561 และจะเติบโตในอัตราที่ลดลงร้อยละ 2.5 – 3.5 ในปีพ.ศ. 2562 ซึ่งถือว่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ

6.2 ช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่าย คือ เส้นทางที่สินค้าในที่นี้หมายรวมไปถึงสินค้าทางการเกษตรมีการเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปยังปลายทางได้แก่ผู้บริโภค หรือ ลูกค้าอุตสาหกรรม รวมไปถึงคนกลางในกระบวนการซื้อขาย ทั้งนี้การใช้งานช่องทางการจัดจำหน่ายในปัจจุบันมีทั้งการซื้อขายกันโดยตรงซึ่งเป็นวิธีการซื้อขายแบบดั้งเดิม รวมไปถึงการซื้อขายผ่านช่องทางสาธารณะในลักษณะของระบบการซื้อขายผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากสำหรับการซื้อขายสินค้าในปัจจุบันสังเกตได้จากการแลกเปลี่ยนมูลค่าเงินกับสินค้าที่เอื้อให้มีการแลกเปลี่ยนและติดต่อสื่อสารกันผ่านทางช่องทางใหม่ๆ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงข้างต้นเนื่องมาจากโครงสร้างสาธารณูปโภคด้านโทรคมนาคมมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้ใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ สามารถใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา ซึ่งถือว่าเป็นช่องทางด้านการตลาดที่ก่อให้เกิดการซื้อขายในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

6.3 ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจหรือการดำเนินการค้าขายบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงข้อมูลสินค้าและบริการที่ต้องการซื้อขาย โดยระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะสามารถรับคำสั่งซื้อจากลูกค้าและผู้เยี่ยมชมสื่อนั้นๆ โดยท้ายที่สุดจะเกิดกระบวนการการชำระเงินและจัดเก็บหลักฐานธุรกรรมทางการเงินเฉกเช่นเดียวกับการซื้อขายทั่วไป ทั้งนี้หมายความรวมถึงสินค้าและบริการทุกประเภทที่กระทำการบนคอมพิวเตอร์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
จากสถิติซึ่งผ่านการสำรวจโดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยอ้างอิงข้อมูลจากประชากรในประเทศไทยพบว่ามูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีมูลค่าถึง 3,058,987.04 ล้านบาท ในปี พ.ศ.2561 ซึ่งถือว่าเติบโตกว่าปีก่อนหน้าถึงร้อยละ 8 โดยรูปแบบการค้าขายในลักษณะผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ซึ่งเป็นระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมที่สุดมีมูลค่า 949,121.61 ล้านบาท ซึ่งเติบโตขึ้นจากมูลค่า 812,612.68 ล้านบาทเมื่อเทียบในช่วงระยะเวลาเดียวกันในปี 2560 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.89 ทั้งนี้สถิติทั่วโลกมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.00 ซึ่งประเทศไทยมีอัตราเจริญเติบโตมากกว่ามาตรฐานถึงร้อยละ 8.89 ทั้งนี้จากสถิติจากการสำรวจข้างต้นพบว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นที่มีนัยสำคัญทางสถิติ

6.4 ผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์ ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆทำให้เกิดเว็บไซต์ที่ประชนชนทั่วไปสามารถสมัครสมาชิกเพื่อเปิดร้านค้าออนไลน์เป็นของตัวเองได้สะดวกและมีความรวดเร็วมากขึ้น ทั้งยังมีระบบจัดการข้อมูลการทำรายการธุรกรรมต่างๆที่ครบถ้วนอีกด้วยซึ่งการทำงานพื้นฐานของผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์เหล่านี้จะมีระบบบริการที่เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิกและลูกค้าโดยทั่วไป เว้นแต่สมาชิกมีการซื้อคุณสมบัติหรือกระบวนการที่ตนต้องการเพิ่มเติม เช่น ซื้อระบบบัญชี ระบบภาษีเพิ่มเติมเป็นต้น จากที่กล่าวไปข้างต้นสามารถกล่าวได้ว่าผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์ ทำให้บุคคลทั่วไปสามารถมีระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจรซึ่งสามารถใช้ฟังก์ชั่นพื้นฐานในการขายสินค้าและบริการของตนได้อย่างครบถ้วน

6.5 การใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยเกษตรกร ในปัจจุบันมีการส่งเสริมให้เกษตรกรนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจำหน่ายสินค้าเนื่องจากเล็งเห็นว่าระบบตลาดสินค้าเกษตรเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าสินค้าของประเทศ โดยมีการส่งเสริมระบบตลาดเกษตรออนไลน์ เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตร ประกาศราคากลางผ่านระบบออนไลน์ และพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยหน่วยงานรัฐบาลเอง ยกตัวอย่างเช่นระบบขายสินค้าเกษตรในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์agrimark.dit.go.th โดยกองส่งเสริมและบริหารระบบตลาด กรมการค้าภายใน เป็นต้น

6.6 ทักษะการรับรู้และใช้งานระบบดิจิทัลโดยเกษตรกร
ทักษะการรับรู้และใช้งานดิจิทัล หรือ (Digital Literacy) คือ ความสามารถในการรับรู้ดิจิทัล เป็นทักษะของบุคคลในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเข้าถึงและการสื่อสารซึ่งกันและกัน รวมไปถึงใช้ในการจัดการ วิเคราะห์ประเมินผลสารสนเทศ ทั้งนี้เพื่อนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ความสามารถสำหรับทักษะการรับรู้และใช้งานดิจิทัล สามารถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ การใช้ การเข้าใจการสร้างสรรค์โดยเนื้อหาและทักษะการรับรู้และใช้งานระบบดิจิทัลทั้ง 3 ด้านจะมีความจำเป็นกับเกษตรกรผู้ที่ต้องการจำหน่ายสินค้าเกษตรของตนในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยรูปแบบการค้าขายผ่านทางผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง

ชุมชนที่เข้าโครงการมีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถลดข้อจำกัดในด้านการจัดเก็บและการขนส่งสินค้าอย่างน้อยหนึ่งผลิตภัณฑ์ โดยประชาชนในพื้นที่ต้องมีเข้าใจกระบวนการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นใหม่อย่างเบ็ดเสร็จตั้งแต่เริ่มผลิตจนจัดจำหน่ายและส่งสินค้าไปยังต่างพื้นที่

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

ชุมนที่เข้าร่วมโครงการมีช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันเพิ่มขึ้น 3 แหล่ง เช่น เฟซบุ๊คมาร์เก็ตเพลซ เว็บขายดีดอมคอม เว็บไซต์เทพช็อป ลาซาด้า เป็นต้น

0.00
3 เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่ายั่งยืน ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงน้ำจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่

ประชากรในเขตพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการใช้ช่องทางการจำหน่ายแบบออนไลน์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดจำหน่ายซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบันได้ด้วยตนเอง นำมาสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน มีความพึงพอใจในโครงการอาสาประชารัฐและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในแง่ของการแก้ปัญหาความยากจนและการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 สำรวจเชิงพื้นที่และความต้องการของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 สำรวจเชิงพื้นที่และความต้องการของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจเชิงพื้นที่และความต้องการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนในเขตพื้นที่ตระหนักถึงความสำคัญและทราบถึงโอกาสในการสร้างรายได้ด้วยการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการวางแผนในการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน พร้อมกับรับทราบปรเด้นปัญหาญหาและความต้องการในการลงพื้นที่จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน รวม 3,600 บาท

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ 1 วัน X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน รวม 7,200.00 บาท

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) รวม 720.00 บาท

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00 บาท

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00 บาท

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00 บาท

1 ชุด 550 1 550
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษปรู๊ฟ (100 แผ่น X 5 บาท) 500.00 บาท

1 ชิ้น 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00 บาท

1 ชิ้น 1,050 1 1,050
ค่าวัสดุสำนักงาน

ดินสอ (40 แท่ง X 5 บาท) 200.00 บาท

40 ชิ้น 5 1 200
ค่าวัสดุสำนักงาน

เครื่องเหลาดินสอ (2 อัน X 250 บาท) 500.00 บาท

1 ชิ้น 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

แฟ้มเอกสาร (3 อัน X 240 บาท) 720.00 บาท

3 คน 240 1 720
รวมค่าใช้จ่าย 13,040

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ทำความเข้าใจกับชุมชนท่าเรือภูสิงห์ และศึกษาบริบทชุมชน ตลอดจนวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ทำความเข้าใจกับชุมชนท่าเรือภูสิงห์ และศึกษาบริบทชุมชน ตลอดจนวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
  2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย 6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน รวม 3,600.00 บาท

1 คน 3,600 1 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน รวม 7,200.00 บาท

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน รวม 3,600.00 บาท

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ 1 วัน X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน 1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน 1 ครั้ง X 1คัน X 3,500 บาท รวม 3,500.00 บาท

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) รวม 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) รวม 3,850.00 บาท

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) รวม 2,000.00 บาท

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) รวม 1,400.00 บาท

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) รวม 2,000.00 บาท

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม( 40 ใบ X 150 บาท) รวม 6,000.00 บาท

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) รวม 6,000.00 บาท

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) รวม 360.00 บาท

1 ครั้ง 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) รวม 550.00 บาท

1 ชุด 550 1 550
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษปรู๊ฟ (100 แผ่น X 5 บาท) 500.00

100 ชุด 5 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00

3 ชุด 350 1 1,050
ค่าวัสดุสำนักงาน

ดินสอ (40 แท่ง X 5 บาท) 200.00

40 ชิ้น 5 1 200
ค่าวัสดุสำนักงาน

แฟ้มเอกสาร (3 อัน X 240 บาท) รวม 720.00 บาท

3 ชิ้น 240 1 720
รวมค่าใช้จ่าย 56,800

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
  2. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่ายั่งยืน ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงน้ำจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X1 คน 3,600.00

1 ครั้ง 3,600 1 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน รวม 7,200.00 บาท

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน รวม 3,600.00 บาท

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ 1 วัน X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน รวม 1,200.00 บาท

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) รวม 3,500.00 บาท

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) รวม 8,250.00 บาท

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) รวม 3,850.00 บาท

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) รวม 2,000.00 บาท

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) รวม 1,400.00 บาท

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) รวม 1,000.00 บาท

5 ชุด 200 1 1,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) รวม 3,500.00 บาท

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) รวม 2,000.00 บาท

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) รวม 6,000.00 บาท

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00 บาท

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00 บาท

1 ครั้ง 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00 บาท

1 คน 720 1 720
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00 บาท

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00 บาท

1 ชุด 550 1 550
รวมค่าใช้จ่าย 57,830

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาส้ม ปลาแดดเดียว ปลาแห้ง ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาส้ม ปลาแดดเดียว ปลาแห้ง ฯลฯ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00 บาท

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน 7,200.00 บาท

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

คาตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน 3,600.00 บาท

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ (วันละ 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน 1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00 บาท

1 เที่ยว 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00 บาท

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00บาท

55 คน 35 2 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00 บาท

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00 บาท

1 คน 1,400 1 1,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00 บาท

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00 บาท

1 คน 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00 บาท

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร(1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00 บาท

1 คน 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม(40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00 บาท

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00 บาท

1 เที่ยว 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00 บาท

1 คน 720 1 720
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปลา (600 กก.x กก.ละ 80 บาท) 48,000.00 บาท

600 คน 80 1 48,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เครื่องปรุงรส ฯลฯ (1x5,000) 5,000.00 บาท

1 ชิ้น 5,000 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุและอุกรณ์ ในขบวนการผลิตอื่นฯ (1x3,000) 3,000.00 บาท

1 ชิ้น 3,000 1 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ภาชะนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ในขบวนการผลิต (1x2,000) 2,000.00 บาท

1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00 บาท

1 ชิ้น 550 1 550
รวมค่าใช้จ่าย 115,930

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาร้าทรงเครื่อง น้ำพริกปลาชิวแก้ว ข้าวเกรียบปลา ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาร้าทรงเครื่อง น้ำพริกปลาชิวแก้ว ข้าวเกรียบปลา ฯลฯ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย 6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00 บาท

    2 คน 3,600 1 7,200
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน 7,200.00 บาท

    4 คน 1,800 1 7,200
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน 3,600.00 บาท

    2 คน 1,800 1 3,600
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ 1 วัน X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน 1,200.00 บาท

    10 คน 120 1 1,200
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

    ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00 บาท

    1 ครั้ง 3,500 1 3,500
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00 บาท

    55 คน 150 1 8,250
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00 บาท

    55 คน 70 1 3,850
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00 บาท

    40 คน 50 1 2,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00 บาท

    1 ชิ้น 1,400 1 1,400
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00 บาท

    5 คน 200 1 1,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00 บาท

    1 ครั้ง 3,500 1 3,500
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

    1 ครั้ง 2,000 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

    40 ชิ้น 150 1 6,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00 บาท

    1 ครั้ง 600 1 600
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00 บาท

    40 คน 150 1 6,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00 บาท

    1 ครั้ง 360 1 360
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

    1 ครั้ง 720 1 720
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ปลา (525 กก.x กก.ละ 80 บาท) 42,000.00 บาท

    525 ชิ้น 80 1 42,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    เครื่องปรุงรส ฯลฯ (1x6,000) 6,000.00

    1 คน 6,000 1 6,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    วัสดุและอุกรณ์ ในขบวนการผลิตอื่นฯ (1x4,000) 4,000.00 บาท

    1 คน 4,000 1 4,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ภาชะนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ในขบวนการผลิต (1x2,000) 2,000.00 บาท

    1 ชุด 2,000 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00 บาท

    1 ชุด 2,500 1 2,500
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

    1 ชุด 550 1 550
    รวมค่าใช้จ่าย 115,430

    กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการการบรรจุหีบห่อผลิตภัณฑ์ และแนวทางการตลาดออนไลน์

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการการบรรจุหีบห่อผลิตภัณฑ์ และแนวทางการตลาดออนไลน์
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
    2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
    รายละเอียดกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน 7,200.00 บาท

    6 คน 600 2 7,200
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน) 7,200.00 บาท

    4 คน 1,800 1 7,200
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 1,800.00 บาท

    6 คน 300 1 1,800
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ(1 วัน X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน) 1,200.00 บาท

    10 คน 120 1 1,200
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00 บาท

    55 คน 150 1 8,250
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00 บาท

    55 คน 35 2 3,850
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00 บาท

    40 ชุด 50 1 2,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00 บาท

    1 คน 1,400 1 1,400
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

    ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X 3 คัน X 3,500 บาท) 10,500.00 บาท

    3 คน 3,500 1 10,500
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00 บาท

    1 ครั้ง 2,000 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00 บาท

    40 ชิ้น 150 1 6,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00 บาท

    1 ครั้ง 600 1 600
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

    ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00 บาท

    40 คน 150 1 6,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00 บาท

    1 ครั้ง 180 2 360
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร(1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00 บาท

    2 ครั้ง 180 2 720
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00 บาท

    1 คน 550 1 550
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กระดาษปรู๊ฟ (100 แผ่น X 5 บาท) 500.00 บาท

    100 ชิ้น 5 1 500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กระดาษชาร์สีเทา (50 แผ่น X25 บาท) 1,250.00 บาท

    50 คน 25 1 1,250
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กระดาษชาร์สีขาว (50 แผ่น X30 บาท) 1,500.00 บาท

    50 คน 30 1 1,500
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    เชือกรัด (5 ม้วน X 20 บาท) 100.00 บาท

    5 ชิ้น 20 1 100
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กาวลาเท็ก (3 ขาว X 120 บาท) 360.00 บาท

    3 คน 120 1 360
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กาวน้ำ (5 ขวด X 110 บาท) 550.00 บาท

    5 ชิ้น 110 1 550
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ไม้บรรทัดเหล็ก (5 อัน X 80 บาท) 400.00 บาท

    5 คน 80 1 400
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    สายวัด (5 อัน X 50 บาท) 250.00 บาท

    5 ชิ้น 50 1 250
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ผ้าพื้น (50 เมตร x 70 บาท) 3,500.00 บาท

    50 คน 70 1 3,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ริบบิ้น (20 ม้วน X 65 บาท) 1,300.00 บาท

    20 ชิ้น 65 1 1,300
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00 บาท

    3 คน 350 1 1,050
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ดินสอ (40 แท่ง X 5 บาท) 200.00 บาท

    40 คน 5 1 200
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    เครื่องเหลาดินสอ (1 อัน X 250 บาท) 250.00 บาท

    1 ชิ้น 250 1 250
    รวมค่าใช้จ่าย 70,840

    กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00 7,200.00 บาท

      2 คน 3,600 1 7,200
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน 7,200.00 บาท

      4 คน 1,800 1 7,200
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน 1,800.00 บาท

      1 คน 1,800 1 1,800
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ 1 วัน X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน 1,200.00 บาท

      10 คน 120 1 1,200
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

      ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X2 คันX3,500 บาท) 7,000.00 บาท

      2 เที่ยว 3,500 1 7,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00 บาท

      55 คน 150 1 8,250
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

      55 คน 70 1 3,850
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00 ยาท

      40 ชุด 50 1 2,000
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

      ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00 บาท

      1 ชิ้น 1,400 1 1,400
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00 บาท

      5 ชุด 200 1 1,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ ( 10 ชุด X 250 บาท) 2,500.00 บาท

      10 ชุด 250 1 2,500
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

      ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X 3 คันX3,500 บาท) 10,500.00

      3 ครั้ง 3,500 1 10,500
      ค่าเช่าสถานที่

      ค่าเช่าห้องประชุมและห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00 บาท

      1 ครั้ง 2,000 1 2,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00 บาท

      40 ชิ้น 150 1 6,000
      ค่าที่พักตามจริง

      ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

      1 ครั้ง 600 1 600
      ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

      ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00 บาท

      40 คน 150 1 6,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00 บาท

      1 ครั้ง 360 1 360
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00 บาท

      1 ครั้ง 720 1 720
      ค่าวัสดุสำนักงาน

      กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00 บาท

      1 คน 550 1 550
      รวมค่าใช้จ่าย 70,130

      รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

      ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
      ค่าใช้จ่าย (บาท) 111,300.00 8,400.00 204,900.00 175,400.00 500,000.00
      เปอร์เซ็นต์ (%) 22.26% 1.68% 40.98% 35.08% 100.00%

      11. งบประมาณ

      500.00บาท

      12. การติดตามประเมินผล

      ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
      ผลผลิต (Output) ผลิตภัณฑ์จากปลาที่เพิ่มขึ้นอย่างน้อยจำนวน 1 ชนิดและมี
      ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 แหล่ง
      นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ได้มีโอกาสประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ของตนเองและบูรณาการองค์ความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นในลักษณะสหสาขาวิชาเพื่อการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพื้นที่โดยอาศัยการปฏิบัติงานในพื้นที่จริง และได้ผลงานออกมาเป็นชิ้นงานที่สสมบูรณ์ในรายวิชาที่มีการลงทะเบียนเรียน
      ผลลัพธ์ (Outcome) ประชากรในเขตพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการใช้ช่องทางการจำหน่ายแบบออนไลน์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดจำหน่ายซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบันได้ด้วยตนเอง นำมาสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ได้มีโอกาสประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ของตนเองและบูรณาการองค์ความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นในลักษณะสหสาขาวิชาเพื่อการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพื้นที่โดยอาศัยการปฏิบัติงานในพื้นที่จริงและนักศึกษาได้ทราบแนวทางและวิธีการคิดเพื่อการประกอบอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้จากทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นของตนผ่านรายวิชาที่เข้าร่วมโครงการอาสาประชารัฐ
      ผลกระทบ (Impact)
      นำเข้าสู่ระบบโดย chapvit chapvit เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 11:59 น.