หมู่บ้านต้นแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์มัดยอมสีธรรมชาติ บ้านดงน้อย ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
หมู่บ้านต้นแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์มัดยอมสีธรรมชาติ บ้านดงน้อย ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

หมู่บ้านต้นแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์มัดยอมสีธรรมชาติ บ้านดงน้อย ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามพัฒนาชุมชน จังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อย หมู่ 3บ้านดงน้อย ตำบลห้วยโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์นายปริญญาทองคำ44 ถนนเทศบาล 13 ตำบลวารินชำราบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี06339192871. อาจารย์ปริญญาทองคำ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะวิทยาการจัดการ
2. ผศ.กุณฑีราอาษาศรี สาขาวิชาการบัญชีคณะวิทยาการจัดการ
3. อาจารย์ณฐภศาเดชานุเบกษา สาขาวิชาการเงินคณะวิทยาการจัดการ
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรีพรคลังพระศรี สาขาวิชานิเทศศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ
5. อาจารย์ ดร. กุลธิดาภูมิเหล่าแจ้ง สาขาวิชานิเทศศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ
6. ผศ.ดร.เมตตา เถาว์ชาลีสาขาวิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นักศึกษาร่วมโครงการ
1. นางสาวปิยภรณ์ ศรีทอง 603140200118 สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ
2. นางสาวปนัดดา ประสานชาติ 603140200116 สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ
3. นายกรณ์ดนัย พรหมเศรณีย์ 613340130118สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
4. นายพชร นนตะพันธุ์ 613340130121สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
5. นางสาวสุนิสา โชติกวี 593120010130 สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6. นางสาวขวัญสุดาวรรณ สุขกะ 593120010105 สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7. นางสาวกนกวรรณ สุนทอง 603140310101 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
8. นางสาวกัญญาภัค สุบิน 603140310102 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
9. นางสาวพิมชนก หลีสกุล 603140400107 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
10. นางสาวพิมพิไล แสงจันดา 603140400108 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ห้วยโพธิ์ ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

การกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้มอบนโยบาย "แนวทางการบริหารงานวิจัย นวัตกรรมของประเทศ" โดยมี อธิการบดี ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนทั่วประเทศ และผู้บริหารระดับสูงของ อว. เข้าร่วมประชุม มีการนำเสนอประเด็นสำคัญเพื่อสร้างความเข้าใจและหารือร่วมกัน เกี่ยวกับการบริหารงานวิจัย จาก สอวช. การจัดสรรงบประมาณงานวิจัยและการบริหารงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จาก สกสว. แนวทางสนับสนุนทุนวิจัยของ วช. การส่งเสริมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Youth Startup Fund จาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ และประเด็นสำคัญในการประชุมชี้แจงนโยบายคือ “โครงการอาสาประชารัฐ” ที่จะบูรณาการศักยภาพทางการวิจัยของบุคลากรและทรัพยากรในสถาบันอุดมศึกษาและสร้างกลไกใหม่ในการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษา เพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนและสังคมจากคณะที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ซึ่งจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดนำร่องโครงการ เนื่องจากเป็นจังหวัดที่ติดอันดับ 1 ใน10ที่มีสัดส่วนคนจนสูงสุดต่อเนื่อง และมีความยากจนรุนแรงอว.จึงต้องการนำนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศที่มีความสนใจเข้าไปช่วยเหลือชุมชน วัตถุประสงค์ของโครงการคือ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง มีจิตสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธาณะ เพื่อนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในมหาวิทยาลัยมาบูรณาการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมสังคม ชุมชนที่ประสบปัญหาในด้านความยากจน ความเหลื่อมล้ำและปัญหาคุณภาพชีวิตมีเป้าหมายคือนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปี 2 ขึ้นไป และมาจากหลากหลายสาขาวิชา โดยนักศึกษาจะต้องถ่ายทอดความรู้ให้กับชุมชนตลอด 1 ภาคการศึกษา หรือ 4 เดือน เพื่อบูรณาการความรู้และแก้ปัญหาชุมชนได้จริง
เทศบาลตำบลห้วยโพธิ์ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ออกมาทางทิศตะวันออกตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 ระยะทางประมาณ 6.0 กิโลเมตร ตำบลห้วยโพธิ์ มีทั้งสิ้น 18 หมู่บ้าน สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของเทศบาลตำบลห้วยโพธิ์ มีอาณาเขตพื้นที่ติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ เขตตำบลเหนือและตำบลเชียงเครือ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศใต้ ติดต่อกับ เขตตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เขตตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เขตตำบลหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อย ตั้งอยู่ที่ หมู่ 3 บ้านดงน้อย ตำบลห้วยโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มีสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 34 คน โดยมีเครือข่ายร่วม จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ เครือข่ายเยาวชน และโรงเรียนผู้สูงอายุมีการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน คือ ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ อื่นๆ เช่น ผ้ามัดหมี่/ไหมมัดหมี่ (สีธรรมชาติ), เสื้อมัดย้อม (สีธรรมชาติ), ผ้าแพรวา เป็นต้น ซึ่งจากที่ได้ลงพื้นที่สำรวจพบว่า ชุมชนบ้านดงน้อย มีการทำผ้ามัดย้อม เป็นการทำลวดลายผ้าศิลปะที่มีรูปแบบแตกต่างกันไปไม่ซ้ำใครและเป็นผลงานที่มีชิ้นเดียวในโลก เรียกผ้ามัดย้อมว่า “ผ้าดงน้อย” เป็นผ้าที่คำนึงถึงความปลอดภัยของคนใช้ เป็นความภาคภูมิใจของชุมชน ผลิตจากกระบวนการย้อมสีธรรมชาติที่ได้จากเปลือกไม้ในท้องถิ่นและดินแดง ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยอดขายเฉลี่ย/ปี 300,000 – 400,000 บาท
มาตรฐานที่ได้รับ 4 ดาว
ชื่อแบรนด์ ดงน้อย
สโลแกน ผ้าย้อมดิน หอมกลิ่นธรรมชาติ
กำลังผลิตเฉลี่ย/เดือน 180 ผืน
ประเภทสินค้า ผ้าและเครื่องแต่งกาย
ผลิตภัณฑ์หลัก ผ้ามัดย้อม (สีธรรมชาติ) อื่นๆ เช่น ผ้ามัดหมี่/ไหมมัดหมี่ (สีธรรมชาติ), เสื้อมัดย้อม (สีธรรมชาติ), ผ้าแพรวา
ช่องทางการขายหลัก Facebook, Line, จัดบูธ
กลุ่มลูกค้าหลัก หน่วยงานราชการ, กลุ่มลูกค้าทั่วไป
กำลังผลิตเฉลี่ย/เดือน 180 ผืน
ลายผ้ามัดย้อมยังไม่สวดงามคมชัด จึงยังไม่เป็นที่ต้องการของกลุ่มลูกค้าเท่าที่ควร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้า ควรมีการพัฒนาลายผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า จึงยังไม่สามารถขยายกลุ่มลูกค้าหรือขยายตลาดได้ และในการย้อมสีผ้า ยังมีปัญหาของสีผ้าตก หรือไม่ได้ความเข้มสีตามที่กำหนด และช่องทางการจัดจำหน่ายยังไม่หลากหลาย ทำให้กลุ่มลูกค้ามีเพียงกลุ่มลูกค้าเดิม1) พัฒนาลายมัดย้อม
2) พัฒนาช่องทางการตลาด และจัดจำหน่าย
3) พัฒนามาตรฐานของสีเพื่อแก้ปัญหาสีตก

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การย้อมสี การออกแบบลาย เทคนิคการมัดย้อม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ได้เทคนิคการย้อมสีและได้คุณภาพสีตรงตามมาตรฐานที่ย้อม

เทคนิคการย้อมสี
มาตรฐานของสี

1.00 1.00
2 เพื่อพัฒนาความรู้การออกแบบลายใหม่

ลายใหม่แบบใหม่

1.00 5.00
3 เพื่อพัฒนาเทคนิคการมัดย้อม

วิธีการการมัดผ้า

1.00 1.00
4 เพื่อให้ส่วนได้ส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่ม

ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายเพิ่มขึ้น

1.00 4.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อย หมู่ 3บ้านดงน้อย 34

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการพัฒนาเทคนิคการย้อมสีให้ได้คุณภาพสีตรงตามมาตรฐานที่ย้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการพัฒนาเทคนิคการย้อมสีให้ได้คุณภาพสีตรงตามมาตรฐานที่ย้อม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ได้เทคนิคการย้อมสีและได้คุณภาพสีตรงตามมาตรฐานที่ย้อม
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมทฤษฎีการย้อมสี หลักการผสมสี ปฏิกิริยาเคมีเบื้องต้นเกี่ยวกับวัสดุย้อมสี และการคงทนของสี
อบรมเชิงปฏิบัติการการย้อมสี
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้เทคนิคการย้อมสีให้ได้มาตรฐานเฉดสีตามต้องการ 1 วิธี
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

100 คน 150 3 45,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

100 คน 25 6 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน ทำหน้าที่ให้ความรู้และคัดเลือกกลุ่ม

3 คน 600 18 32,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 3 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 6 1,200
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

100 ชุด 50 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

100 ชุด 200 1 20,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

1 คน 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 130,100

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมการพัฒนาลวดลายจากการมัดย้อมผ้า

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมการพัฒนาลวดลายจากการมัดย้อมผ้า
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาความรู้การออกแบบลายใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
1. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักการออกแบบลาย ทฤษฎีการวาดลาย เป็นระยะเวลา 5วัน
2. พัฒนารูปแบบลายผ้าแบบต่างๆ (ดำเนินการอย่างต่อเนื่องหลังจากอบรม)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้รูปแบบลายผ้าแบบต่างๆ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 150 5 37,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

50 คน 25 10 12,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน

3 คน 600 30 54,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 5 2,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 10 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

50 คน 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

50 คน 300 1 15,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์โครงการ

1 คน 10,700 1 10,700
รวมค่าใช้จ่าย 137,700

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอบรมเพื่อพัฒนาเทคนิคการมัดย้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเพื่อพัฒนาเทคนิคการมัดย้อม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาเทคนิคการมัดย้อม
รายละเอียดกิจกรรม
1. อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคการมัดย้อมแบบต่างๆจำนวน 3 วัน
2. พัฒนาลวดลายตามที่ได้อบรม (ดำเนินการอย่างต่อเนื่องหลังจากอบรม)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้เทคนิคการมัดย้อมแบบต่างๆ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 150 3 22,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

50 คน 25 6 7,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน

3 คน 600 18 32,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 3 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 6 1,200
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

50 คน 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

50 คน 250 1 12,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์โครงการ

1 คน 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 91,100

กิจกรรมที่ 4 พัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์และอบรมเชิงปฏิบัติการขายสินค้าออนไลน์และการจัดส่ง

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์และอบรมเชิงปฏิบัติการขายสินค้าออนไลน์และการจัดส่ง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ส่วนได้ส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่ม
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดทำช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์
2. อบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานการขายสินค้าออนไลน์บนช่องทางที่พัฒนาขึ้นและการจัดส่งระยะเวลา 3วัน
3. ประชาสัมพันธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (ดำเนินการอย่างต่อเนื่องหลังจากอบรม)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์ (เว็บไซด์)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำเว็บไซด์ขายสินค้าออนไลน์

1 คน 40,000 1 40,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 150 3 22,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม

50 คน 25 6 7,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา

10 คน 50 3 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างนักศึกษา

10 คน 20 6 1,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร 1 คน ผู้ช่วยวิทยากร 2คน

3 คน 600 18 32,400
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารอบรม

50 ชุด 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

50 คน 250 1 12,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุอุปกรณ์โครงการ

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น วีดีโอ และสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 141,100

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 151,200.00 198,100.00 100,700.00 50,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 30.24% 39.62% 20.14% 10.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) -ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์ (เว็บไซด์)
-ได้เทคนิคการมัดย้อมแบบต่างๆ
-ได้รูปแบบลายผ้าแบบต่างๆ
-ได้เทคนิคการย้อมสีให้ได้มาตรฐานเฉดสีตามต้องการ
นักศึกษาได้นำความรู้มาแก้ปัญหาให้ชุมชนได้จริง
ผลลัพธ์ (Outcome) ได้นวัตกรรมการมัดย้อมผ้า
ได้ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า
นักศึกษาสามารถนำผลิตภัณฑ์ไปต่อยอดเป็นอาชีพได้
ผลกระทบ (Impact) สามารถนำไปเป็นต้นแบบให้ชุมชนอื่นๆ
นำเข้าสู่ระบบโดย parinya.thongkam parinya.thongkam เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 10:54 น.