การพัฒนาระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือนกรณีศึกษา ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือนกรณีศึกษา ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือนกรณีศึกษา ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะเทคโนโลยีสารสนเทศคณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์ดร.ชนะชัย อวนวัง80 ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม0885615780อาจารย์ดร.ธวัชชัย สหพงษ์ อาจารย์รังสรรค์ พงษ์พัฒนอำไพและนางสาวละอองดาว ภูสำรอง

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

3. รายละเอียดชุมชน

จังหวัดกาฬสินธุ์มีร้อยละประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจน ร้อยละ ๔๒.๖๗ อยู่ในอันดับที่ ๓ ของประเทศและมีสัดส่วนคนจนเพิ่มขึ้นทุกปี หมู่บ้านในตำบล หนองตอกแป้น ประกอบด้วย ๑๐ หมู่บ้าน คือ ๑) บ้านคำไฮ หมู่ที่ ๑ ๒)บ้านคำไฮ หมู่ที่๒ ๓)บ้านหนองบัวน้อย ๔)บ้านโนนตูม ๕) บ้านหนองตอกแป้น หมู่ที่๕ ๖)บ้านโคกสาย ๗)บ้านหนองบัวนาดี๘)บ้านหนองตอกแป้น หมู่ที่๘ ๙)บ้านหนองหมากฟัดและ๑๐) บ้านคำไฮ หมู่ที่๑๐ ประชากรมีจำนวนครัวเรือน ๙๗๓ ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น ๓,๗๓๘ คน เป็นชาย ๑,๘๘๓ คน หญิง ๑,๘๕๕ คน อาชีพ หลักทำนา อาชีพรอง การเลี้ยงสัตว์ การเย็บที่นอนหมอนขิดปริมาณน้ำฝน การทำนากำลังแรงงานภาคเกษตร มีแนวโน้ม ลดลงผลผลิตทางการเกษตร มีคุณภาพค่อนข้างต่ำ ไม่ได้มาตรฐาน เกษตรกรขาดทักษะเทคโนโลยีทางการผลิต ท่วมและภัยแล้ง ปัญหายังขาดแคลนน้ำในฤดูร้อน ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติที่เพียงพอในการพัฒนา ปัญหาหนี้สิน รายได้ต่ำกว่ารายจ่ายเกิดความเลื่อมล้ำและการเข้าถึงทรัพยากรทักษะเทคโนโลยีทางการผลิต พืชให้ผลตอบแทนสูง โดยการใช้ ระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

นวัตกรรมการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาระบบ การให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

นวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ

0.00 1.00
2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

กลุ่ม SME, OTOP, และผู้ประกอบการ ความพึงพอใจต่อเทคโนโลยีการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนระดับมาก

0.00 4.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่ม SME, OTOP, และผู้ประกอบการไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

ชื่อกิจกรรม
ระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาระบบ การให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
พัฒนาและทดลองระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ/รายได้ของผู้เข้าร่วมโครงการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนผู้ช่วยนักวิจัย คุณวุฒิปริญญาตรี ๑ คน ๙ เดือน (๑ X๑๕,๐๐๐ X๙)

1 คน 135,000 1 135,000
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักวิจัย ๔ คน คน ละ ๑๕,๐๐๐ บาท

4 คน 15,000 1 60,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบเครื่องมือวิจัย จำนวน ๕ คน คนละ ๒,๕๐๐ บาท

5 คน 25,000 1 125,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยง (๓๔ คน X ๒๔๐ บาท X ๕ ครั้ง )

35 คน 240 5 42,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าใช้สอย ค่าพาหนะ (๒ คัน X ๑,๐๐๐ บาท ๕ ครั้ง )

2 เที่ยว 1,000 5 10,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุ โรงเรือน ขนาด ๔ X ๑๑ เมตร ๒ โรง (๒ X๗๐,๐๐๐ บาท)

2 ชุด 70,000 1 140,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุ ชุดระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะ จำนวน ๒ ชุด (๒ X ๔๐,๐๐๐ บาท)

2 ชุด 40,000 1 80,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุ ปุ๋ยและวัสดุปลูก (๒ X ๑๐,๐๐๐ บาท)

2 ชุด 10,000 1 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 612,000

กิจกรรมที่ 2 การบริการวิชาการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีอัจริยะการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่วิจัย

ชื่อกิจกรรม
การบริการวิชาการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีอัจริยะการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่วิจัย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
การถ่ายทอดเทคโนโลยีอัจริยะการปลูก
เมล่อนในระบบโรงเรือน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการและกิจกรรม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทน ค่าตอบวิทยากร ๒ คน คนละ ๘๐๐ บาท (๒ คนX๘๐๐ บาท)

2 คน 800 1 1,600
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิจัดกิจกรรม ๕ คน คนละ ๑,๐๐๐ บาท (๕ คนX๑,๐๐๐ บาท)

5 คน 1,000 1 5,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยง ๑๐๐ คน ๒๔๐ บาท (๑๐๐ คนX๒๔๐ บาท)

100 คน 240 1 24,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่

ค่าใช้สอย ค่าพาหนะ (๒ คัน X๑,๐๐๐ บาท ๑ ครั้ง )

2 เที่ยว 1,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุ กระดาษ ปริ้นงาน และการเขียนรายงาน โครงการวิจัย ๕๐๐๐ บาท

1 ชุด 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 37,600

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 649,600.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 131,600.00 12,000.00 5,000.00 501,000.00 649,600.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 20.26% 1.85% 0.77% 77.12% 100.00%

11. งบประมาณ

649,600.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1 นวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ 1 ตำบล 30 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) รายได้ของผู้เข้าร่วมโครงการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
40000 บาท
30 คน
ผลกระทบ (Impact) กลุ่มเกษตรกร SME, OTOP, และผู้ประกอบการไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน สร้างมูลค่าเพิ่มและโอกาสทางการตลาดให้กับชุมชนท้องถิ่น
ลดความเลื่อมล้ำและโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรและมีอาชีพเสริมและรายได้เพิ่มขึ้น
ผู้วิจัย นักศึกษาได้ผลงานวิจัย และนำนวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะสู่ชุมชนท้องถิ่น
นำเข้าสู่ระบบโดย chanachai chanachai เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 09:44 น.