โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรมบ้านรักไทย

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรมบ้านรักไทย

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรมบ้านรักไทยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลกสำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลกบ้านรักไทย หมู่7 ต.ชมพู อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลกดร.ยรรยงเฉลิมแสนสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา พิษณุโลก 52หมู่7 ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลกโทรศัพท์…055298438 ต่อ 1143 โทรสาร 055298440 E-mail – address :y_chalermsan@gmail.comโทร. 064-0041034อาจารย์สุรีรัตน์ บัวชุม สาขาพืชศาสตร์
อาจารย์ณัฐชญา สายคำวงศ์ สาขาพืชศาสตร์
อาจารย์พรวิภา สะนะวงศ์ สาขาพืชศาสตร์
รศ. ดร.สมชาติ หาญวงษา สาขาพืชศาสตร์
รศ. ดร. คมสัน อำนวยสิทธิ์ สาขาพืชศาสตร์
อาจารย์ ธานี ศิริโสม สาขาพืชศาสตร์
ผศ. ประเทือง สง่าจิตร สาขาพืชศาสตร์
ผศ. สุพรรัตน์ ทองฟัก สาขาบัญชี
อาจารย์อมิตตา คล้ายทอง สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์บุญเจิด กาญจนา สาขาเครื่องจักรกลการเกษตร
อาจารย์นพดล ตรีรัตน์ สาขาเครื่องจักรกลการเกษตร
อาจารย์วิทยา พรหมพฤกษ์ สาขาเครื่องจักรกลการเกษตร
อาจารย์บุญฤทธิ์ วังงอน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ผศ. ดร. ณิฐิมา เฉลิมแสน สาขาสัตวศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
พิษณุโลก เนินมะปราง ชมพู

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านรักไทย หมู่ที่7 ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เป็นหมู่บ้านที่จัดตั้งขึ้นตามยุทธศาสตร์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ของรัชกาลที่9 ในปี พ.ศ.2519 มีจำนวนประชากร 190 ครัวเรือน จำนวนประชากร 791 คน อาชีพหลักคือ การทำเกษตรกรรม (ไม้ผล) อาชีพรอง คือ ทำไร่ สวนยางพารา มันสำปะหลัง เลี้ยงสัตว์ และรับจ้างทั่วไป ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง มีภูเขาล้อมรอบ มีช่องลมถ่ายเทอากาศตลอดทั้งปี จุดเด่นของหมู่บ้านรักไทย คือลักษณะภูมิประเทศ มีอากาศเย็นทั้งปี และเป็นแหล่งที่มีการปลูกไม้ผล หลายชนิด มีให้บริโภคทุกฤดูกาล ผลไม้ที่เป็นจุดเด่นของชุมชน คือ ทุเรียน(หลงรักไทย) เงาะ ลิ้นจี่ ฝรั่ง มะยงชิด แก้วมังกร ลองกอง ฯลฯ ทีมีรสชาดที่อร่อย นอกจากนี้ยังมีการปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคและจำหน่ายหลายชนิด เช่น สะตอ ผักพื้นบ้าน ซึ่งการที่ชุมชนมีลักษณะพื้นที่ที่เย็น อากาศดี ก็ทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวเกิดขึ้น มีนักท่องเที่ยวขึ้นมาชมวิวธรรมชาติที่สวยงามตลอดทั้งปี(ชิงช้าต้นไม้) เพราะอยู่ห่างจากจังหวัดพิษณุโลก ประมาณ 60 กิโลเมตร การเดินทางสะดวก สบาย มีบ้านพักโฮมสเตย์ นอกจากท่องเที่ยวชมธรรมชาติเสร็จแล้ว ยังมีผลไม้ตามฤดูกาลให้รับประทานเป็นจำนวนมาก และจุดเด่นอีกด้านคือ ในปลายมิถุนายน เข้าเดือน กรกฎาคม จะมีหิ่งห้อยดินนับล้านตัว บินมาให้ชมในช่วงตอนกลางคืน ที่มีความสวยงาม และมีแหล่งประวัติศาสตร์การเสด็จมาเปิดหมู่บ้านของรัชกาลที่9 ให้ศึกษา ทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในชุมชนจำนวนมาก สร้างรายได้ให้กับชุมชนจำนวนมากความพร้อมของชุมชน จากการสอบถามผู้นำชุมชน นายประสงค์ อารมณ์ชื่น(ผู้ใหญ่บ้าน ม.7)ชุมชนมีความสามัคคีกันมาก มีเป้าหมายรวมกลุ่มผลิตไม้ผล เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว การทำเกษตรผสมผสาน เพื่อก่อให้เกิดรายได้ในชุมชนและการจ้างงานในชุมชนเกิดขึ้น ในด้านการตลาด ชุมชนมีการบริหารจัดการสินค้าได้อย่างเป็นระบบ มีลักษณะภูมิประเทศที่ได้เปรียบกว่าชุมชนอื่น มีผู้ซื้อจำนวนมากที่มาติดต่อซื้อผลผลิตจำนวนมาก จึงทำให้ไม่เกิดปัญหาด้านสินค้าล้นตลาดด้านผู้นำชุมชนมีความเข้มแข็ง มีการเรียนรู้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาพัฒนาชุมชนตลอดเวลา ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรมบ้านรักไทย ต่อไปได้ในช่วงเวลาที่ผ่านมา(2561-2562) พื้นที่บ้านรักไทยเกิดวิกฤตภัยแล้ง ทำให้ไม้ผลไม่สามารถที่จะออกผลผลิตได้ และวิธีการจัดการยังไม่ถูกต้อง ทำให้ไม้ผลออกมาสู่ตลาดในปริมาณน้อยมาก ทำให้นักท่องเที่ยวที่ตั้งใจเดินทางขึ้นมาท่องเที่ยวและบริโภคไม้ผลต่างผิดหวังตามกันไป ซึ่งในชุมชนมีอ่างเก็บน้ำที่สามารถนำมาใช้ในการเกษตรกรรมได้ทั้งปี แต่ยังขาดองค์ความรู้และวิธีการที่ถูกต้องในการนำมาใช้ประโยชน์ได้ และข้อมูลการท่องเที่ยวในแต่ละช่วงเวลายังไม่ชัดเจน ทำให้นักท่องเที่ยวไม่ทราบว่าในแต่ละเดือนจะมีไม้ผลชนิดไหนบ้างที่สามารถบริโภคได้ชุมชนมีอาชีพเสริม จากการผลิตผลไม้ และพัฒนาเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีผลผลิตเกษตรปลอดภัยจำหน่ายให้นักท่องเที่ยวทุกฤดกาล

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ความพร้อมขององค์ความรู้ และเทคโนโลยี ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ที่ประกอบด้วย 3 คณะ(วิทยาศาสตร์ฯ,วิศวกรรมศาสตร์และบริหารธุรกิจฯ) เป็นทีมที่ปรึกษา โดยมีทั้งบุคลากร องค์ความรู้ เทคโนโลยี ที่พร้อมจะถ่ายทอดสู่ชุมชน ในด้านการผลิตไม้ผล เทคโนโลยีการจัดการน้ำเพื่อการเกษตรกรรม และการจัดการฐานระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวต่อไป นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในด้านอื่นๆ ประกอบด้วย สำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก สนับสนุนด้านการประชาสัมพันธ์ ขึ้นทะเบียนกลุ่มวิสาหกิจ พัฒนาชุมชน สนับสนุนด้วยการระดมหุ้น และสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้ประสบความสำเร็จ สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดพิษณุโลก สนับสนุนด้านการประชาสัมพันธ์โครงการฯ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนในด้านแหล่งทุนเพื่อขยายกลุ่มและพัฒนาชุมชนต้นแบบต่อไป

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ 2 การใช้ทรัพยากรที่มีในพื้นที่พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว

สามารถผลิตผลไม้ที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 3 ชนิด
สามารถวางแผนผลิตไม้ผลได้ทั้งฤดูกาลและพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 10
เกษตรกร 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การอบรมการจัดการไม้ผลด้วยระบบชีวภาพ

ชื่อกิจกรรม
การอบรมการจัดการไม้ผลด้วยระบบชีวภาพ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
    2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
    - ประสานงานในพื้นที่ฯ
    - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    - ดำเนินการฝึกอบรม
    3.การติดตามประเมินผล(C)
    4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
    การติดตาม(A)
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    - ชุมชนสามารถผลิตไม้ผลได้อย่างมีคุณภาพอย่างน้อย 3 ชนิด
    ผลลัพธ์
    - วางแผนการผลิตได้ทั้งฤดูกาล
    - ปริมาณผลผลิตไม้ผลเพิ่มขึ้น
    - เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้และมีความปลอดภัยในการผลิต
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 18 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

    1 คน 1,800 3 5,400
    ค่าอาหาร

    ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 3วัน เป็นเงิน 10,800 บาท(อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

    30 คน 120 3 10,800
    อื่น ๆ

    - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx3 วัน เป็นเงิน 1,440 บาท

    2 คน 240 3 1,440
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

    1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    ค่าที่พักตามจริง

    - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 4 คนๆละ 400 บาท 2วัน เป็นเงิน 3,200 บาท

    4 คน 400 2 3,200
    ค่าอาหาร

    - เอกสารการฝึกอบรม 30 เล่มๆละ100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

    30 ชิ้น 100 1 3,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น กิ่งพันธุ์ไม้ผล ปุ๋ยหมัก ถังหมัก กากน้ำตาล ปุ๋ย46-0-0,0-0-60,18-46-0 ,ฟางฟ่อน ถุงดำ เชือกฟาง ผ้าใบ ถุงพลาสติก กระสอบปุ๋ย ตาชั่ง ลวด มุ้งเขียว ผ้าใบ ผ้าพลาสติก ปุ๋ยคอก หัวเชื้อชีวภาพ กรรไกรตัดกิ่ง เทปพันกิ่ง อื่นๆ

    1 ชุด 65,160 1 65,160
    รวมค่าใช้จ่าย 90,000

    กิจกรรมที่ 2 การอบรมการผลิตผักปลอดภัย

    ชื่อกิจกรรม
    การอบรมการผลิตผักปลอดภัย
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
      2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
      - ประสานงานในพื้นที่ฯ
      - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
      - ดำเนินการฝึกอบรม
      3.การติดตามประเมินผล(C)
      4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต
      -ชุมชนสามารถนำวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาผลิตสารชีวภาพเพื่อใช้ในการผลิตผักปลอดภัยได้
      ผลลัพธ์
      - มีการวางแผนการผลิตผักได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
      - เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้(ไม่ต้องซื้อจากแหล่งอื่น)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

      1 คน 1,800 2 3,600
      ค่าอาหาร

      - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 7,200 บาท(อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

      30 คน 120 2 7,200
      อื่น ๆ

      - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx2 วัน เป็นเงิน 960 บาท

      2 คน 240 2 960
      ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

      - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

      1 ครั้ง 1,000 1 1,000
      ค่าที่พักตามจริง

      - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท

      4 คน 400 1 1,600
      ค่าถ่ายเอกสาร

      - คู่มือการฝึกอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท

      1 ครั้ง 1,000 1 1,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน

      - สติ๊กเกอร์ เป็นเงิน 1,000 บาท

      1 ชุด 1,000 1 1,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก ถังหมัก กากน้ำตาล ผ้าพลาสติก ปุ๋ยหมัก ฟาง เชือกฟาง มีด ผ้าใบ เชือก แกลลอน ตะกร้า ถุงพลาสติก ตาข่ายไม้ไผ่ อื่นๆ

      1 ชุด 23,640 1 23,640
      รวมค่าใช้จ่าย 40,000

      กิจกรรมที่ 3 การอบรมการจัดการระบบน้ำเพื่อเกษตรกรรม

      ชื่อกิจกรรม
      การอบรมการจัดการระบบน้ำเพื่อเกษตรกรรม
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
        2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
        - ประสานงานในพื้นที่ฯ
        - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
        - ดำเนินการฝึกอบรม
        3.การติดตามประเมินผล(C)
        4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มกราคม 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต
        - ชุมกลุ่มเกษตรกรสามารวางระบบระบายน้ำได้ในการผลิต
        ผลลัพธ์
        - สามารถผลิตไม้ผลได้ตลอดทั้งฤดูกาล
        - เกษตรกรสามารถลดปริมาณการใช้น้ำลงได้
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 18 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

        1 คน 1,800 3 5,400
        ค่าอาหาร

        - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 3 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

        30 คน 120 3 10,800
        อื่น ๆ

        - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx3 วัน เป็นเงิน 1,440 บาท

        2 คน 240 3 1,440
        ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

        - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท (รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

        1 คน 1,000 1 1,000
        ค่าที่พักตามจริง

        - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 4 คนๆละ 400 บาท 2 วัน เป็นเงิน 3,200 วัน

        4 คน 400 2 3,200
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น ถังเก็บน้ำ วงบ่อ ท่อน้ำ สายยาง ข้อต่อ กาว ข้องอ วาล์วหัวน้ำหยด อุปกรณ์ตั้งเวลาเปิด-ปิดน้ำ อื่นๆ

        1 คน 38,160 1 38,160
        รวมค่าใช้จ่าย 60,000

        กิจกรรมที่ 4 การอบรมการเลี้ยงสัตว์ท้องถิ่นเพื่อบริโภคและจำหน่าย

        ชื่อกิจกรรม
        การอบรมการเลี้ยงสัตว์ท้องถิ่นเพื่อบริโภคและจำหน่าย
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน
          -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
          2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
          - ประสานงานในพื้นที่ฯ
          - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
          - ดำเนินการฝึกอบรม
          3.การติดตามประเมินผล(C)
          4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
          การติดตาม(A)
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิต
          - ผลิตไก่พื้นเมืองและไก่ไข่ ได้อย่างปลอดภัย
          ผลลัพธ์
          - สามารถบริโภคและจำหน่ายในชุมชนได้
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

          1 คน 1,800 2 3,600
          ค่าอาหาร

          - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 7,200 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

          30 คน 120 2 7,200
          อื่น ๆ

          - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx2 วัน เป็นเงิน 960 บาท

          2 คน 240 2 960
          ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

          - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(เดินทางโดยรถยนต์

          1 ครั้ง 1,000 1 1,000
          ค่าที่พักตามจริง

          - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท

          4 คน 400 1 1,600
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

          ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น พันธุ์ไก่พื้นเมือง พันธุ์ไก่ไข่ อาหารไก่ ถังน้ำ ถังอาหาร วัคซีนไก่ ตาข่าย ถุงดำ ข้าวเปลือก อื่นๆ

          1 ชุด 25,640 1 25,640
          รวมค่าใช้จ่าย 40,000

          กิจกรรมที่ 5 การศึกษาดูงานกลุ่มผลิตไม้ผลเพื่อจำหน่าย

          ชื่อกิจกรรม
          การศึกษาดูงานกลุ่มผลิตไม้ผลเพื่อจำหน่าย
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน
            -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
            2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
            - ประสานงานในพื้นที่ฯ
            - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
            - ดำเนินการฝึกอบรม
            3.การติดตามประเมินผล(C)
            4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
            การติดตาม(A)
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ผลผลิต
            - กลุ่มสมาชิกมีวิทยากรประจำกลุ่มอย่างน้อย 5คน
            - มีเครือข่ายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เครือข่าย
            - ได้รับองค์ความรู้ใหม่อย่างน้อย 2 เรื่อง
            ผลลัพธ์
            - กลุ่มสมาชิกสามารถอธิบายสมาชิกภายในกลุ่มและเครือข่ายได้
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            1.ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก 9 ชั่วโมงๆละ600 บาท

            1 คน 5,400 1 5,400
            อื่น ๆ

            - ค่าเบี้ยเลี้ยง 10คนx240บาทx3 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท

            10 คน 240 3 7,200
            ค่าเช่ารถ

            - ค่าจ้างเหมารถตู้ 1 คัน3 วันๆละ 1,800 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท

            1 ครั้ง 1,800 3 5,400
            อื่น ๆ

            - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิงรถเช่า 3,500 บาท

            1 คน 3,500 1 3,500
            ค่าที่พักตามจริง

            - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 10 คนๆละ 400 บาท 2 คืน 8,000 บาท

            10 คน 400 2 8,000
            ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

            - ไวนิล 500 บาท

            1 ชิ้น 500 1 500
            รวมค่าใช้จ่าย 30,000

            กิจกรรมที่ 6 การจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว

            ชื่อกิจกรรม
            การจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...-ตั้งคณะทำงาน
              -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
              2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
              - ประสานงานในพื้นที่ฯ
              - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
              - ดำเนินการฝึกอบรม
              3.การติดตามประเมินผล(C)
              4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ผลผลิต
              - ได้ระบบฐานข้อมูลการผลิตชุมชนผู้ปลูกไม้ผลชัดเจนมากขึ้น
              ผลลัพธ์
              - กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนากลุ่มเพื่อยกระดับเป็นวิสาหกิจชุมชนได้
              - กลุ่มสมาชิกวางแผนการผลิตได้อย่างมีคุณภาพ
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              ค่าตอบแทนวิทยากร

              - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

              1 คน 1,800 1 1,800
              ค่าอาหาร

              - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 3,600 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

              30 คน 120 1 3,600
              อื่น ๆ

              ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx1 วัน เป็นเงิน 480 บาท

              2 คน 240 1 480
              ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

              - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(เดินทางโดยรถยนต์มหาวิทยาลัยฯ)

              1 คน 1,000 1 1,000
              ค่าวัสดุสำนักงาน

              - แผ่นพับ 5,000 บาท

              1 ชุด 5,000 1 5,000
              ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

              - ไวนิล 5,000 บาท

              1 ชิ้น 5,000 1 5,000
              ค่าวัสดุสำนักงาน

              .ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น กระดาษ กระดานไวท์บอร์ด ปากกามี อื่นๆ

              1 ชุด 3,120 1 3,120
              รวมค่าใช้จ่าย 20,000

              กิจกรรมที่ 7 การติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียนโครงการ

              ชื่อกิจกรรม
              การติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียนโครงการ
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...-ตั้งคณะทำงาน
                -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
                2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
                - ประสานงานในพื้นที่ฯ
                - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                - ดำเนินการตรวจติดตามและถอดบทเรียน
                3.การติดตามประเมินผล(C)
                4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                1 มีนาคม 2563 ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                ผลผลิต
                - ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน และการแสดงความคิดเห็นของชุมชน
                ผลลัพธ์
                - สามารถวางแผนและแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานได้ในปี2564
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                ค่าอาหาร

                ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 1วัน เป็นเงิน 3,600 บาท(อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

                30 คน 120 1 3,600
                อื่น ๆ

                - ค่าเบี้ยเลี้ยง 4คนx240บาทx1 วัน เป็นเงิน 960 บาท

                4 คน 240 1 960
                ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

                - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท (รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

                1 เที่ยว 1,000 1 1,000
                ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

                - ไวนิล 500 บาท

                1 ชิ้น 500 1 500
                ค่าวัสดุสำนักงาน

                - อุปกรณ์บันทึกเสียง อุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบพกพา กระดาษ อุปกรณ์สำนักงาน อื่นๆ

                1 ชุด 13,940 1 13,940
                รวมค่าใช้จ่าย 20,000

                รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

                ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
                ค่าใช้จ่าย (บาท) 25,200.00 6,000.00 76,200.00 175,660.00 16,940.00 300,000.00
                เปอร์เซ็นต์ (%) 8.40% 2.00% 25.40% 58.55% 5.65% 100.00%

                11. งบประมาณ

                300,000.00บาท

                12. การติดตามประเมินผล

                ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                ผลผลิต (Output) เป็นแหล่งผลิตไม้ผลที่มีคุณภาพ นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
                ผลลัพธ์ (Outcome) สามารถผลิตและจำหน่ายได้ทั้งฤดูกาล การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
                ผลกระทบ (Impact) มีการขึ้นทะเบียนกลุ่มผู้ปลูกไม้ผลและท่องเที่ยว การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
                นำเข้าสู่ระบบโดย kwangtong kwangtong เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 09:13 น.