การกำหนดตำแหน่งหย่อมป่าธรรมชาติบนสันทรายชายฝั่งรอบทะเลสาบสงขลาเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศสันทรายชายฝั่ง

แบบเสนอโครงการ
การกำหนดตำแหน่งหย่อมป่าธรรมชาติบนสันทรายชายฝั่งรอบทะเลสาบสงขลาเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศสันทรายชายฝั่ง

1. ชื่อโครงการ

การกำหนดตำแหน่งหย่อมป่าธรรมชาติบนสันทรายชายฝั่งรอบทะเลสาบสงขลาเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศสันทรายชายฝั่งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ศูนย์ความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมชุมชนรอบทะเลสาบสงขลารศ. ดร. กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์0860655770นายศักดิ์อนันต์ ปลาทอง ผศ. ดร. สาระ บำรุงศรี

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคใต้

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนรอบะทเลสาบสงขลา อาศัยนิเวศบริการจากระบบสันทราย และ ระบบน้ำจืดในสันดอนทรายรอบทะเลสาบสงขลา เนื่องแหล่งน้ำจืดตามชายฝั่งทะเลในภาคใต้ของไทย ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลมาจากเขาสูง แต่เป็นแหล่งน้ำพุสันดอนทรายหรือ dune spring ที่เป็นระบบน้ำใต้ดินสำคัญมาแต่อดีต จะเห็นว่าเมืองโบราณทั้งหมดที่พบในภาคใต้ ตัวอย่างเช่น เมือง สทิงพระ เมืองสงขลาโบราณ (Singora) เมืองนครศรีธรรมราชโบราณ (Ligor) เมืองไชยา เมืองลังกาสุกะที่ปัตตานี ล้วนตั้งอยู่บนสันทรายชายฝั่งทั้งสิ้น เพราะต้องอาศัยน้ำในระบบสันทราย ซึ่งเกี่ยวโยงกับระบบสังคมพืช หรือ ป่า บนสันทรายนั้นเองทรัพยาการพรรณไม้ในเขตรอบทะเลสาบสงขลา ในระบบนิเวศแบบต่างๆ ได้แก่ ระบบพื้นที่ชุ่มน้ำ และ ระบบสันทรายชายฝั่ง มีความหลากหลายสูง และให้นิเวศบริการ (ecosystem service)แก่ชุมชนพื้นถิ่นในภาคใต้มาแต่เริ่มยุคประวัติศาสตร์ระบบนิเวศบริเวณทะเลสาบสงขลาระบบพื้นที่ชุ่มน้ำ และ ระบบสันทรายชายฝั่งทั้งที่อาศัยนิเวศบริการจากระบบสันทราย และ ระบบน้ำจืดในสันดอนทรายรอบทะเลสาบสงขลา เนื่องแหล่งน้ำจืดตามชายฝั่งทะเลในภาคใต้ของไทย ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลมาจากเขาสูง แต่เป็นแหล่งน้ำพุสันดอนทรายหรือ dune spring โดยมีระบบป่า แบบนี้ช่วยรักษาความสมดุลย์ให้ระบบน้ำจืด แต่ชุมชน และ ทางการ ขาดความรู้ความเข้าใจ ได้ทำลายระบบนิเวศดังกล่าวลฃงจนเกือบหมดแล้ว ทำให้ปัจุจุบันประสพปัญหาเรื่องน้ำ เพราะไม่เข้าใจพลวัตของระบบตามความเป็นจริงความเข้าใจเรื่องระบบนิเวศ โดยเฉพาะสังคมพืช ในเบื้องแรกต้องระบุว่า มีที่ใดบ้างที่มีสังคมพืชธรรมชาติหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน และ สภานภาพในการคืนตัวของสังคมพืชตามธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อให้นิเวศบริการเหมือนที่เป็นมาในอดีตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อทำให้คุณภาพชีวิตของผู้คนที่อยู่รอบๆทะเลสาบมีความเป็นปกติสุข

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.การวิเคราห์สังคมพืชโดยวิธี Braun-Balnquet และ การวิเครห์โดยใช้ Program PC-Odd
2. การกำหนดขอบเขตพื้นที่สังคมพืชในแผนที่โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศ หรือ ดาวเทียม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อระบุพิกัด และขนาด และ ชนิด ของสังคมพืชธรรมชาติรอบๆทะเลสาบสงขลา

แผนที่สังคมพืชในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา (Vegetation map) การใช้ประโยชน์ที่ดิน(land use) เพื่อให้กระทบนิเวศบริการของระบบนิเวศตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตชุมชนน้อยที่สุด

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

2,000,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) แผนที่สังคมพืชเพื่อการใช้ประโยชน์ งานวิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญเอก
ผลลัพธ์ (Outcome) การวางแผนการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ทำลายระบบนิเวศที่ให้ นิเวศบริการต่อชุมชนรอบๆทะเลสาบสงขลา Ph.D. 1 คน
ผลกระทบ (Impact) คุณภาพชีวิตประชาชนมีความเป็นปกติมากขึ้น เพราะผลกระทบจากการใช้นิเวศบริการน้อยลง เช่น ระบบน้ำจืดในสันทรายที่เป็นแหล่งน้ำสำคัญ นักศึกษาสำเร็จการศึกษามีความเชี่ยวชาญเรื่องสังคมพืชของ wetland และ sand dune ชายฝั่ง
นำเข้าสู่ระบบโดย Kitichate.s Kitichate.s เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 07:59 น.