โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้สน ชุมชน แบบมี ส่วนร่วม โครงการปีที่ 3 กรณีบ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้สน ชุมชน แบบมี ส่วนร่วม โครงการปีที่ 3 กรณีบ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้สน ชุมชน แบบมี ส่วนร่วม โครงการปีที่ 3 กรณีบ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่านกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านบ้านห้วยหาด ตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่านบ้นางสาววรรณดิาชินบุตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน 59 หมู่ 13 ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน 550000891910821นายอริยะแสนทวีสุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมรชัยล้อทองคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยะนุชรสเครือ
นางสาวจิตราปั้นรูป
ดร.ฐาณิญาอิสสระ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
น่าน ปัว อวน

3. รายละเอียดชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

300,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. หมู่บ้าน ชุมชน ได้รับการสนับสนุนชี้แนะ และคาปรึกษา ในบริบทของโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต
หมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม อย่างต่อเนื่อง
2. เป็นการติดตามความต่อเนื่องของโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม หลัง
สิ้นสุดการดาเนินงานโครงการปีที่ 3
3. มีการบูรณาการการเรียนการสอน กับการบริการวิชาการ ไม่น้อยกว่า 1 วิชา (ในรายวิชาการตลาดสินค้า
ชุมชน ของนักศึกษาหลักสูตรการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสาตร์) 4. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม มีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
2. ได้ผลการติดตาม โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษา บ้านห้วย
หาด
3. ให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรค ในการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วน
ร่วม กรณีศึกษา บ้านห้วยหาด
4. เป็นข้อมูลสาหรับนักบริหารและผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ และ
ประกอบการพิจารณาปรับปรุงวิธีการบริหารจัดการในปีต่อไป
5. นักศึกษา อาจารย์ และชุมชน มีการบูรณาการร่วมกัน
การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
ผลกระทบ (Impact) 1. โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม สามารถสร้างอาชีพ และรายได้ ให้
ผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 30 คน มีรายได้เพิ่มขึ้น หรือ ลดรายจ่าย ได้ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 1,500 บาท/คน/ปี
2. โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม สามารถสร้างการรับรู้แก่นักท่องเที่ยว
อย่างน้อง 20% ขอนักท่องเที่ยวทั้งหมดที่มาเที่ยวบ้านห้วยหาด
4. มีการดาเนินการด้านมาตรฐานคณุ ภาพสินค้าชุมชน อย่างน้อย 1 ชนิด
5. ได้องค์ความรู้จากการดาเนินกจิ กรรม อย่างน้อย 1 เรื่อง
6. ชุมชนมีทักษะการใช้ชุดอุปกรณ์โรงเรือนอบแห้งมากขึ้นทาให้ลดต้นการใช้พลังงานได้ อย่างน้อย รอ้ ยละ
20/ปี
7. นักศึกษามีทักษะทางด้านวิชาชีพที่ดียิ่งขึ้น และก่อให้เกิดการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ
ทักษะการเรียนรู้ และมีการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ อย่างน้อย 1 รายวิชา ที่มีแผนการ เรียนการสอน หรือ มคอ.3-4 สอดคล้องกับกิจกรรมของโครงการ
การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 01:16 น.