โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชนและภาคอุตสาหกรรม : หมู่บ้านสามหลังโดยเกษตรนวัตวิถี

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชนและภาคอุตสาหกรรม : หมู่บ้านสามหลังโดยเกษตรนวัตวิถี

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชนและภาคอุตสาหกรรม : หมู่บ้านสามหลังโดยเกษตรนวัตวิถีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาสถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา1. พัฒนาชุมชนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม 2. องค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ 3. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอทุ่งเสลี่ยม5. โรงเรียนในพื้นที่บ้านสามหลัง 6. โรงพยาบาลประจำตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ 7. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยมบ้านสามหลังหมู่ที่ 5 ตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัยผศ.สันติ ช่างเจรจา200 หมู่ 17 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง 52000086-7304040คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
1. นางรุ่งนภา ช่างเจรจา
2. พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง
3. นายชิติ ศรีตนทิพย์
4. นายยุทธนา เขาสุเมรุ
5.นายอภิชาติ ชิดบุรี
6. นางสาวภัทรภรณ์ศรีสมรรถการ
7.นางสาวนิอร โฉมศรี
8.นางสาวจิรภาพงษ์จันตา
9.นายรัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา
10. นางสุภาวดี แช่ม
11. นายพยุงศักดิ์ มะโนชัย
12. นายกุลวิทย์ พานิชกุล

สาขาสัตวศาสตร์และประมง
1. นายสมเกียรติตันตา

คณะวิศวกรรมศาสตร์
1.นายขวัญชัย บำรุงกิจ

คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
1.นายสรวิทย์ ปานพินิจ

บุคลากร สายสนับสนุน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร
1.นายอำนาจ อุ้ยฟูใจ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
2.นางสาวชูขวัญ แสงทอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
3.นางอำไพแสนคำ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
4.นางสาวนภัสวรรณ ครองบุญ นักวิชาการพัสดุ
5.นางสาวจรรยา ศรีชุม เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
6.นายชัยวัฒน์ พงศ์สุขุมาลกุล นักวิจัย
7.นายธีรภพ มาซา นักวิชาการคอมพิวเตอร์
8.นางสาวมาลัย จักรบุญมา เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป
9.นายสุทธิพันธุ์ กฤตยาวัฒนากุลเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย
- นักศึกษาระดับปริญญาโท ไม่น้อยกว่า 5 คน
- นักศึกษาระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 10 คน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สุโขทัย ทุ่งเสลี่ยม เขาแก้วศรีสมบูรณ์

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านสามหลังหมู่ที่ 5 ตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย อยู่ในเขตพื้นที่การปกครองของเทศบาลตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ มีจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงตามข้อมูลสำรวจ จปฐ. จำนวน 202 ครัวเรือน ประชากร 490 คน เพศชาย 218 คน เพศหญิง 272 คน มีที่ตั้งทางทิศเหนือติดกับอำเภอศรีสัชนาลัย ทิศใต้ติดกับอำเภอบ้านด่านลานหอย ทิศตะวันออกติดกับอำเภอสวรรคโลก และทิศตะวันตกติดกับอำเภอเถิน จังหวัดลำปาง ลักษณะภูมิประเทศของชุมชนเป็นพื้นที่ราบมีลำน้ำแม่มอกไหลผ่าน มีระบบชลประทานจากเขื่อนแม่มอกสำหรับใช้เพื่อการเกษตรทำให้ประชากรส่วนใหญ่ยึดการเกษตรเป็นอาชีพหลักสร้างรายได้ มีพื้นที่การเกษตรรวมกับพื้นที่พักอาศัยรวมทั้งสิ้น 7,999 ไร่ มีพื้นที่ป่าชุมชนอยู่ในเขตป่าสงวนแม่ท่าแพ 2,503 ไร่ ประกอบอาชีพการทำนามากที่สุดคือ 95 ราย เนื้อที่ 1,301 ไร่ รองลงมาคือ พืชไร่อื่นๆและพืชสวน 54 ราย เนื้อที่ 574 ไร่ จำนวนรายได้วัยทำงานมีรายได้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคือ มากกว่า 38,000 บาท /คน/ปี ชุมชนมีการดำเนินงานด้านกิจกรรมกองทุน ได้แก่ 1.กองทุนเงินล้าน 2.กองทุนออมทรัพย์รายเดือน 3.กองทุน กข.คจ. 4.กองทุนแม่ 5.กองทุนสงเคราะห์ ระบบสาธารณูปโภคของชุมชนมีระบบประปาใต้ดินประจำพื้นที่หมู่ 5 ส่วนงานสำคัญในชุมชน ประกอบด้วย วัด 3 แห่ง โรงเรียนบ้านสามหลังเป็นโรงเรียนขยายโอกาสในชุมชนและโรงเรียนชัยมงคลพิทยาเป็นโรงเรียนมัธยมประจำตำบล มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2 แห่ง ประชากรส่วนใหญ่ในหมู่ที่ 5 ยึดพื้นฐานทางวัฒนธรรมและประเพณีแบบล้านนาซึ่งเป็นพื้นที่เดิมมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษผลการวิเคราะห์ SWOT (จุดแข็ง/จุดอ่อน/โอกาส/อุปสรรค์) ของชุมชนบ้านสามหลัง
ด้านจุดแข็ง (strength : S)
- ประชากรมีความมุ่งมั่นขยันหมั่นเพียรเป็นฐานการสร้างรายได้สู่ครัวเรือน
- ยึดการทำนาเป็นอาชีพที่สำคัญและสร้างรายได้ให้ครัวเรือน
- คนในชุมชนมีรากฐานวัฒนธรรม ประเพณีที่ช่วยสร้างความรัก สามัคคี เกื้อกูลแบ่งปันกันในชุมชน
- ชุมชนมุ่งมั่นการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
- ชุมชนมีระบบสาธารณูปโภคที่เพียงพอต่อการยกระดับคุณภาพชีวิต
- ผู้นำชุมชนมีความมุ่งมั่นด้านการพัฒนาชุมชน
จุดอ่อน (Weaknesses : W)
- เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการเกษตรอย่างเหมาะทำให้ต้นทุนสูงเสี่ยงต่อการขาดทุน
- เกษตรกรยังขาดความตระหนักในการใช้วัสดุอันตรายในการเกษตรทำให้เสี่ยงต่อปัญหาด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมชุมชน
- ปัญหาสังคมผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
- ระบบการการบริหารจัดการกลุ่มยังไม่ค่อยมีความเข้มแข็ง
- หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น
โอกาส (Opportunities : O)
- โครงสร้างชุมชนมีปัจจัยพื้นฐานด้านการเกษตรที่ค่อนข้างพร้อมสามารถขยายผลพัฒนาการเรียนรู้ได้
- มีหน่วยงานการศึกษาในพื้นที่ชุมชนสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตรกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนรุ่นใหม่ของชุมชน
อุปสรรค์(Threats : T)
- มีพื้นที่ตั้งอยู่ไกลแหล่งสนับสนุนความรู้ด้านวิชาการจากหน่วยงานภายนอก
- ยังไม่มีกลไกการบูรณาการเครือข่ายความร่วมมือจากหน่วยงานภายในสนับการพัฒนาอัตลักษณ์ของชุมชน
- เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการเกษตรอย่างเหมาะทำให้ต้นทุนสูงเสี่ยงต่อการขาดทุน
- เกษตรกรยังขาดความตระหนักในการใช้วัสดุอันตรายในการเกษตรทำให้เสี่ยงต่อปัญหาด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมชุมชน
- ปัญหาสังคมผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
- ระบบการการบริหารจัดการกลุ่มยังไม่ค่อยมีความเข้มแข็ง
- หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ทางวิชาการที่มีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐานเสริมสร้างการพัฒนาการเกษตรเดิมสู่นวัตวิถีใหม่บนอัตลักษณ์เสริมศักยภาพการแข่งขันและสร้างความสุขสู่ชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรบ้านสามหลังบนฐานเทคโนโลยีและเกษตรวัตวิถี 2. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างโอกาสการมีส่วนร่วมพัฒนานวัตกรรมเพื่อชุมชนที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 3. เพื่อยกระดับอาชีพทางการเกษตรและเพิ่มขีดความสามารถของวิสาหกิจในชุมชน 4. เพื่อพัฒนาอาชีพทางการเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าในชุมชนและวิสาหกิจในชุมชน 5. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยและตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับในปีงบประมาณ 2563
(1) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้ (Output)
- คุณภาพชีวิตของเกษตรกรบ้านสามหลังบนฐานเทคโนโลยีและเกษตรวัตวิถีดีขึ้นร้อยละ 10 - เกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมบ่มเพาะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของสมาชิกเกษตรกรในชุมชน - องค์ความรู้ที่ชุมชนได้รับการถ่ายทอด ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง - เกิดเครือข่ายภายในและภายนอกมีส่วนร่วมในการยกระดับชุมชนไม่น้อยกว่า 3 เครือข่าย - ความพึงพอใจในการดำเนินงาน มากกว่าร้อยละ 80 (2)  ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) -เกษตรกรในชุมชนบ้านสามหลังมีทัศนคติเชิงบวกด้านการประกอบอาชีพการเกษตรเพิ่มมากกว่าเดิมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 -เกษตรกรชุมชนบ้านสามหลังมีทักษะและความสามารถในการจัดการเกษตรให้ได้ประสิทธิภาพดีกว่าเดิม มากกว่า ร้อยละ 10 (3)  ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact)
-สมาชิกในชุมชนบ้านสามหลังสามารถเข้าใจแนวทางการพัฒนาและให้ความร่วมมือในการเรียนรู้เพื่อเข้าถึงผลประโยชน์และประโยชน์ที่จะเกิดต่อคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว สังคม/ชุมชน และสิ่งแวดล้อมของชุมชน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 1 เวทีเสวนาร่วมคิดร่วมสร้าง เกษตรนวัตวิถี “สามหลังสร้างสรรค์สร้างสุข”

ชื่อกิจกรรม
โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 1 เวทีเสวนาร่วมคิดร่วมสร้าง เกษตรนวัตวิถี “สามหลังสร้างสรรค์สร้างสุข”
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.วางแผนการดำเนินการ(P)
    ประสานงานกลุ่มแกนนำชุมชนและตัวแทนภาคีเครือข่ายประชุมชี้แจงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรับปรุงแนวทาง กำหนดเป้าหมายและจัดทำ Action plan และ Section plan
    2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) จัดเวทีประชุมเสวนาตามรายละเอียดของ Section plan มุ่งเป้าหมายเพื่อคัดเลือกนวัตกรจิตอาสาของชุมชน และจัดตั้งคณะดำเนินงาน
    3.การติดตามประเมินผล(C)
    ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมหลังการดำเนินงานของกิจกรรม
    4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
    การติดตาม(A)
    ประชุมสรุปบทเรียน AAR ผู้รับผิดชอบตาม Section plan หลังกิจกรรมแล้วเสร็จ กำหนดแนวทางการแก้ไข ปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงานในครั้งต่อไป
    งบประมาณ .... 21,000.... บาท (...สองหมื่นหนึ่งพันบาท.....)

    หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
    1.ค่าตอบแทน -
    2.ค่าใช้สอย
    -ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงานในชุมชน
    1.ค่าเดินทางจากสถาบันวิจัยถึง บ้านสามหลัง จ.สุโขทัย
    -ค่ายานพาหนะ (1,800 บาท* 2 วัน) + น้ำมัน 1,500 บาท
    ค่าอาหาร/อาหารว่างผู้เข้าอบรม 50 คน x 130 บาท / ครั้ง
    -ค่าที่พัก (800 บาท*3 คน)
    5,100
    6,500
    2,400
    3.ค่าวัสดุ
    7,000
    จำนวนเงิน 21,000
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 ตุลาคม 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
    ได้กระบวนการสร้างตัวคูณด้านคนและเครือข่ายการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมในชุมชน
    ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
    การดำเนินงานกิจกรรมต่างๆสามารถดำเนินงานได้สอดคล้องตามแผนใช้การมีส่วนร่วมลดความเสี่ยงที่อาจมีผลทำให้การดำเนินงานเกิดปัญหา
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    หน่วยงาน
    1. พัฒนาชุมชนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม
    2. องค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
    3. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
    4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอทุ่งเสลี่ยม
    5. โรงเรียนในพื้นที่บ้านสามหลัง
    6. โรงพยาบาลประจำตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
    7. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
    8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 1 ครั้ง 1,800 2 3,600
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 1,500 1 1,500
    ค่าอาหาร 50 คน 130 1 6,500
    ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 1 2,400
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 7,000 1 7,000
    รวมค่าใช้จ่าย 21,000

    กิจกรรมที่ 2 โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 2 กระบวนการจัดทำฐานข้อมูลแบบชุมชนมีส่วนร่วม

    ชื่อกิจกรรม
    โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 2 กระบวนการจัดทำฐานข้อมูลแบบชุมชนมีส่วนร่วม
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.วางแผนการดำเนินการ(P)
      ประสานงานคณะดำเนินงานประชุมชี้แจงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรับปรุงแนวทาง กำหนดเป้าหมายและจัดทำ Section plan
      2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
      จัดกระบวนการเรียนรู้เสริมแนวทางการวิเคราะห์ชุมชนให้กับนวัตกรชุมชน พร้อมทั้งทำการสำรวจข้อมูลเชิงพื้นที่ของชุมชนรวบรวมรายละเอียดข้อมูลเชิงพื้นที่ บริบทชุมชน ต้นทุนชุมชนและศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีในชุมชนโดยใช้เครื่องมือ SWOT ทำการวิเคราะห์รายละเอียดที่จะใช้เป็นฐานการเรียนรู้และพัฒนา
      3.การติดตามประเมินผล(C)
      ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมหลังการดำเนินงานของกิจกรรม
      4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
      การติดตาม(A)
      ประชุมสรุปบทเรียนAAR ผู้รับผิดชอบตาม Section plan หลังกิจกรรมแล้วเสร็จ กำหนดแนวทางการแก้ไข ปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงานในครั้งต่อไป
      งบประมาณ .... 31,000.... บาท (...สามหมื่นหนึ่งพันบาท.....)
      หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
      1.ค่าตอบแทน
      -
      2.ค่าใช้สอย
      1.ค่าเดินทางจากสถาบันวิจัยถึง บ้านสามหลัง จ.สุโขทัย
      -ค่ายานพาหนะ (1,800 บาท* 2 วัน) + น้ำมัน 1,500 บาท
      ค่าอาหาร/อาหารว่างผู้เข้าอบรม 50 คน x 130 บาท / ครั้ง
      -ค่าที่พัก (800 บาท*3 คน)
      5,100
      6,500
      2,400
      3.ค่าวัสดุ
      17,000
      จำนวนเงิน 31,000
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
      ได้ฐานข้อมูลชุมชนที่จะสามารถขยายผลการใช้ประโยชน์ที่แท้จริงของชุมชน
      ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
      ชุมชนมีความรู้สามารถจัดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำฐานข้อมูลชุมชนภายใต้กลไกการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      หน่วยงาน
      1. พัฒนาชุมชนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม
      2. องค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
      3. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
      4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอทุ่งเสลี่ยม
      5. โรงเรียนในพื้นที่บ้านสามหลัง
      6. โรงพยาบาลประจำตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
      7. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
      8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 ครั้ง 1,800 1 3,600
      ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 1,500 1 1,500
      ค่าอาหาร 50 คน 130 1 6,500
      ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 1 2,400
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 17,000 1 17,000
      รวมค่าใช้จ่าย 31,000

      กิจกรรมที่ 3 โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 3 การถ่ายทอดเทคโนโลยีและกลไกการบ่มเพาะเทคโนโลยีด้านการเกษตร

      ชื่อกิจกรรม
      โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 3 การถ่ายทอดเทคโนโลยีและกลไกการบ่มเพาะเทคโนโลยีด้านการเกษตร
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        รายละเอียดกิจกรรม
        1.วางแผนการดำเนินการ(P)
        ประสานงานคณะดำเนินงานประชุมชี้แจงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรับปรุงแนวทาง กำหนดเป้าหมายและจัดทำ Section plan
        2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
        -เวทีการจัดการความรู้วิถีการจัดการเกษตรชุมชนจากภูมิปัญญา ภายใต้กระบวนการ การรวบรวม/วิเคราะห์/วิพากษ์/คัดเลือกประเด็นสำคัญที่ต้องการพัฒนาสำหรับขยายผลสู่การเรียนรู้ยกระดับการการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพ
        - อบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับความรู้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการผลิตเกษตรของชุมชน การพัฒนาทักษะด้านวิชาการและเทคโนโลยีการจัดการผลิตตามเป้าหมายที่ชุมชนต้องการ มีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการวิจัย PARพัฒนาฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการผลิตที่จะขยายผลความรู้ไปสู่สมาชิกภายในชุมชน
        - อบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการสร้างสินค้าเกษตรคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยของชุมชนบ้านสามและการยกระดับความรู้สู่แนวทางกลไกการพัฒนากลุ่มอาชีพเกษตรที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาด้านการเกษตรตามนโยบายของรัฐบาล
        - เวทีการจัดการความรู้นวัตวิถีเกษตรของบ้านสามหลัง ภายใต้กลไกการวิเคราะห์/วิพากษ์/กำหนดเป้าหมายและวางแผนแนวทางการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม
        3.การติดตามประเมินผล(C)
        ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมหลังการดำเนินงานของกิจกรรม
        4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
        การติดตาม(A)
        ประชุมสรุปบทเรียนAAR ผู้รับผิดชอบตาม Section plan หลังกิจกรรมแล้วเสร็จ กำหนดแนวทางการแก้ไข ปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงานในครั้งต่อไป

        หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
        1.ค่าตอบแทน -
        2.กลไกการบ่มเพาะเทคโนโลยีนวัตกรจิตอาสาชุมชนด้านการเกษตร
        -ค่าเดินทางจากสถาบันวิจัยฯ ถึง บ้านสามหลัง จ.สุโขทัย
        ค่ายานพาหนะ (1,800 บาท/วัน 2 วัน/ครั้ง) + น้ำมัน 1,500 บาท/ครั้ง จำนวน 8 ครั้ง
        ค่าที่พัก 800*3 คน / ครั้ง จำนวน 8 ครั้ง
        ค่าอาหาร/อาหารว่างผู้เข้าอบรม 50 คน x 130 บาท / ครั้ง จำนวน 8 ครั้ง
        40,800
        19,200
        52,000
        3.ค่าวัสดุ
        105,000
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
        ได้องค์ความรู้เทคโนโลยีการจัดการเกษตรที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพต่อการผลิตของเกษตรในชุมชนบ้านสามหลัง
        ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
        ผลผลิตทางการเกษตรของชุมชนบ้านสามหลังมีคุณภาพและปริมาณเพิ่มขึ้นภายใต้การจัดการผลิตที่เหมาะสม
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        หน่วยงาน
        1. พัฒนาชุมชนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม
        2. องค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
        3. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
        4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอทุ่งเสลี่ยม
        5. โรงเรียนในพื้นที่บ้านสามหลัง
        6. โรงพยาบาลประจำตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
        7. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
        8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 เที่ยว 1,800 8 28,800
        ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 1,500 8 12,000
        ค่าอาหาร 50 คน 130 8 52,000
        ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 8 19,200
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 105,000 1 105,000
        รวมค่าใช้จ่าย 217,000

        กิจกรรมที่ 4 โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 4 การติดตาม ประเมินผลและให้คำปรึกษา และ เขียนและนำเสนอรายงานสรุปผลการดำเนินงานทั้งรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์

        ชื่อกิจกรรม
        โครงการหรือกิจกรรมย่อยที่ 4 การติดตาม ประเมินผลและให้คำปรึกษา และ เขียนและนำเสนอรายงานสรุปผลการดำเนินงานทั้งรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          รายละเอียดกิจกรรม
          1.วางแผนการดำเนินการ(P)
          ประสานงานคณะดำเนินงานประชุมชี้แจงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรับปรุงแนวทาง กำหนดเป้าหมายและจัดทำ Section plan
          2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
          -จัดเวทีการประชุมพร้อมปฏิบัติการเชิงพื้นที่ทำการติดตาม ประเมิน และวัดผลความรู้ทีมนวิตกรจิตอาสาชุมชนโดยใช้แบบสอบถาม และให้คำปรึกษาแนะนำเพิ่มเติมในพื้นที่จริง การสัมภาษณ์ ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของกิจกรรมต่างๆและในภาพรวมของการดำเนินงาน 8.5
          -จัดเวทีสรุปบทเรียนโดยทีมผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นผู้รับผิดชอบการดำเนินงานจัดทำร่างรายงานความก้าวหน้า และร่างรายงานสรุปผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ ก่อนจะมีการนำไปประชุมร่วมกับคณะกรรมดำเนินงานเพื่อเพิ่มเติมและปรับปรุงก่อนจัดทำรายงานความก้าวหน้า และการนำเสนอผลฉบับสมบูรณ์

          3.การติดตามประเมินผล(C)
          ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมหลังการดำเนินงานของกิจกรรม
          4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
          การติดตาม(A)
          ประชุมสรุปบทเรียนAAR ผู้รับผิดชอบตาม Section plan หลังกิจกรรมแล้วเสร็จ กำหนดแนวทางการแก้ไข ปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงานในครั้งต่อไป
          งบประมาณ .... 31,000.... บาท (...สามหมื่นหนึ่งพันบาท.....)
          หมวดงบประมาณ จำนวนเงิน
          1.ค่าตอบแทน -
          2.ค่าใช้สอย
          1.ค่าเดินทางจากสถาบันวิจัยถึง บ้านสามหลัง จ.สุโขทัย
          -ค่ายานพาหนะ (1,800 บาท* 2 วัน) + น้ำมัน 1,500 บาท
          ค่าอาหาร/อาหารว่างผู้เข้าอบรม 50 คน x 130 บาท / ครั้ง
          -ค่าที่พัก (800 บาท*3 คน)
          การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าและสรุปผลรายงานสมบูรณ์
          5,100
          6,500
          2,400
          5,000
          3.ค่าวัสดุ
          12,000
          จำนวนเงิน 31,000
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
          ได้รายงานผลการดำเนินงานที่จะสามารถขยายผลการใช้ประโยชน์ที่แท้จริงของชุมชน
          ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
          ชุมชนมีความรู้สามารถเข้าใจกระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่เกิดจากการดำเนินงานของชุมชนแบบมีส่วนร่วม
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          หน่วยงาน
          1. พัฒนาชุมชนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม
          2. องค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
          3. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
          4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอทุ่งเสลี่ยม
          5. โรงเรียนในพื้นที่บ้านสามหลัง
          6. โรงพยาบาลประจำตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์
          7. สำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งเสลี่ยม
          8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 เที่ยว 1,800 1 3,600
          ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 1,500 1 1,500
          ค่าอาหาร 50 คน 130 1 6,500
          ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 1 2,400
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 12,000 1 12,000
          ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 5,000 1 5,000
          รวมค่าใช้จ่าย 31,000

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

          ค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 159,000.00 141,000.00 300,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 53.00% 47.00% 100.00%

          11. งบประมาณ

          300,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) - คุณภาพชีวิตของเกษตรกรบ้านสามหลังบนฐานเทคโนโลยีและเกษตรวัตวิถีดีขึ้นร้อยละ 20
          - เกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมบ่มเพาะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของสมาชิกเกษตรกรในชุมชนบ้านสามหลังและชุมชนใกล้เคียง
          - องค์ความรู้ใหม่ที่ชุมชนได้รับการถ่ายทอด ไม่น้อยกว่า 6 เรื่อง
          - เกิดเครือข่ายภายในและภายนอกมีส่วนร่วมในการยกระดับชุมชนไม่น้อยกว่า 5 เครือข่าย
          - ความพึงพอใจในการดำเนินงาน มากกว่าร้อยละ 80
          นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
          ผลลัพธ์ (Outcome) -เกษตรกรในชุมชนบ้านสามหลังมีทัศนคติเชิงบวกด้านการประกอบอาชีพการเกษตรเพิ่มมากกว่าเดิมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100
          -เกษตรกรชุมชนบ้านสามหลังมีทักษะและความสามารถในการจัดการเกษตรให้ได้ประสิทธิภาพดีกว่าเดิม มากกว่า ร้อยละ 50
          -เกษตรกรชุมชนบ้านสามหลังได้ผลตอบแทนรายได้จากการทำการเกษตรเพิ่มขึ้นจากเดิมมากกว่า ร้อยละ 20
          การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
          ผลกระทบ (Impact) ชุมชนในตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์สามารถเข้าใจและเข้าถึงแนวทางการพัฒนาการกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างอัตลักษณ์ที่มีผลประโยชน์และประโยชน์ที่จะเกิดต่อคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว สังคม/ชุมชน และสิ่งแวดล้อมของชุมชน การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
          นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 01:04 น.