การพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากสารเคมีทางการเกษตร กรณี บ้านศรีประดู่ หมู่ ๑๐ ตาบลแม่ปั๋ง อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากสารเคมีทางการเกษตร กรณี บ้านศรีประดู่ หมู่ ๑๐ ตาบลแม่ปั๋ง อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากสารเคมีทางการเกษตร กรณี บ้านศรีประดู่ หมู่ ๑๐ ตาบลแม่ปั๋ง อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่บ้านศรีประดู่ หมู่ ๑๐ ตาบลแม่ปั๋ง อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ดร.ศิรประภา ชัยเนตร128 ถ.ห้วยแก้ว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300โทรศัพท์ : 0 5392 1444 , โทรสาร : 0 5321 3183ผศ.ดร.กลิ่นประทุม ปัญญาปิง คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผศ.นิธิวัฒ จำรูญรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ.ดร.บัญจรัตน์ โจลานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผศ.ภัทรา วงษ์พันธ์กมล คณะวิศวกรรมศาสตร์
ดร.นคร สุริยานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ดร.รุ่งนภา เขียววิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์
นายครรชิต เงินคำคง คณะวิศวกรรมศาสตร์
นางสาวภาวริส ถือคำ คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ.ดร.สุนทร วิทยาคุณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
ผศ.ดร.วรวุธ ชัยเนตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
ผศ.วีระ อินทร์นารี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
อ.พรพิพัฒน์ ทองปรอน คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ พร้าว แม่ปั๋ง

3. รายละเอียดชุมชน

หมู่บ้านศรีป่าดู่ หมู่ที่ 10 ตำบลแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่ มีประชากรชายหญิงรวม 422 คน มีจำนวน 190 หลังคาเรือน พื้นที่ 300 ไร่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำการเพาะปลูกลำไยเพื่อเป็นรายได้หลักในแต่ละปี การป้องกันและกำจัดศัตรูพืชยังคงพึ่งพาสารเคมีเป็นส่วนใหญ่ มีความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์ป้องกันสารเคมีแต่ยังมีบางส่วนที่ยังคงใช้อุปกรณ์ป้องกันยังไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และยังคงพบการจัดเก็บและการจัดการภาชนะเหลือทิ้งที่ยังไม่เหมาะสมการเพาะปลูกลาไยในลักษณะพืชเชิงเดี่ยวและมีการใช้สารเคมีทาง การเกษตรในปริมาณที่สูง โดยมีแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการลดความเสี่ยงอันตรายจากสารเคมีทางการเกษตรต่อ สุขภาพของเกษตรกรโดยการปรบัพฤติกรรมแบบองค์รวมเพื่อใหค้รอบคลมุทุกมิติเกษตรกรมีความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์ป้องกันสารเคมีแต่ยังมีบางส่วนที่ ยังคงใช้อุปกรณ์ป้องกันยังไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และยังคงพบการจัดเก็บและการจัดการภาชนะเหลือทิ้งที่ยังไม่เหมาะสม ทางคณะทางานจึงได้ทาการให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักถึงพิษและอันตรายที่เกิดจากวิธีการใช้และวิธีการจัดการสารเคมี ทางการเกษตรที่ไม่เหมาะสมลดความเสี่ยงอันตรายจากสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพของเกษตรกร

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การจัดการของเสียอันตราย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากใช้สารเคมีทางการเกษตร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรสร้างความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพของเกษตรกร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายตามหลักวิชาการ วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 3 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 4 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร
  • เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้และเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรและมีความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
    • เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 70 มีระดับการปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรในร่างกายเกษตรกรดีขึ้น
    • เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้และเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายด้วยตนเองและมีตัวแทนเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตรด้วยตนเองอย่างน้อย 2 แห่ง
    • เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีระดับการเรียนรู้การใช้สารทดแทนทางการเกษตรรวมถึงการเกษตรผสมผสาน มากกว่าร้อยละ 80
    • เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้และเข้าใจบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร และมีตัวแทนผู้จัดทำบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตรในชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
0.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การให้ความรู้เพื่อปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตร

ชื่อกิจกรรม
การให้ความรู้เพื่อปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตร
วัตถุประสงค์
  1. วัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากใช้สารเคมีทางการเกษตร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรสร้างความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพของเกษตรกร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายตามหลักวิชาการ วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 3 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 4 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร
รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P) (ต.ค-ธ.ค.62)
- เสนอข้อเสนอโครงการ
- เข้าพบผู้นำชุมชน
2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
- การเข้าพบผู้นำชุมชนและชุมชนและการสำรวจข้อมูลพื้นที่
- การให้ความรู้เพื่อปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตร
- การตรวจสารปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตร ครั้งที่ 1
- การตรวจสารปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตร ครั้งที่ 2
- การวิเคราะห์ผลของบทเรียนโดยการประเมินตามตัวชี้วัด
- การรายงานผลการประเมินสุขภาวะจากการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรต่อชุมชน
3.การติดตามประเมินผล(C)
- การลงพื้นที่ติดตามผลจากการให้ข้อเสนอแนะและการให้ความรู้ ประเมินผลความสำเร็จ
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม(A)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
(1) ตัวชี้วัดของโครงการ
- เชิงปริมาณ
- เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย อย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้และเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรและมีความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
- เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย อย่างน้อยร้อยละ 70 มีระดับการปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรในร่างกายเกษตรกรดีขึ้น
(2) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- ทราบระดับความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหลักสูตรเรื่องการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตร
(3) . ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 50 สามารถถ่ายทอดวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีให้ผู้อื่นได้
(4) ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) (ผลกระทบที่ได้รับจากผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรสามารถยกระดับสุขภาวการณ์ทำเกษตรที่ดีและปลอดภัยส่งผลต่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคมในภาพรวมของประเทศ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รพ.ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลแม่ปั๋ง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 1,800 2 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยง

12 คน 240 2 5,760
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าเช่ารถ 1 เที่ยว 2,000 2 4,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 ครั้ง 700 6 4,200
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 ครั้ง 1,000 5 5,000
ค่าอาหาร 70 คน 130 2 18,200
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 6,000 1 6,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์

1 ชุด 25,000 1 25,000
ค่าที่พักตามจริง 1 ครั้ง 3,000 8 24,000
รวมค่าใช้จ่าย 114,360

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตร

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตร
วัตถุประสงค์
  1. วัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากใช้สารเคมีทางการเกษตร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรสร้างความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพของเกษตรกร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายตามหลักวิชาการ วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 3 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 4 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร
รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P)
- เสนอข้อเสนอโครงการ (ต.ค-ธ.ค.62)

2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
- การเข้าพบผู้นำชุมชนและชุมชน
- การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตร

3.การติดตามประเมินผล(C)
- การวิเคราะห์ผลของบทเรียนโดยการประเมินตามตัวชี้วัด
- การลงพื้นที่ติดตามผลจากการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตรในชุมชน
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
(1) ตัวชี้วัดของโครงการ
- เชิงปริมาณ
- เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย อย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้และเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายด้วยตนเอง
- มีตัวแทนเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตรด้วยตนเองอย่างน้อย 2 แห่ง
(2) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- ชุมชุนได้แนวทางปฏิบัติการจัดการของเสียอันตราย
- ชุมชนได้แหล่งเรียนรู้การจัดการของเสียอันตรายทางการเกษตร
(3) . ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- ชุมชนสามารถจัดการของเสียอันตรายด้วยตนเองได้
(4) ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) (ผลกระทบที่ได้รับจากผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- ชุมชนมีความปลอดภัยจากอันตรายจากของเสียอันตรายทางการเกษตร สามารถยกระดับสุขภาพคนในชุมชนส่งผลต่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคมในภาพรวมของประเทศ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน 10 คน 240 2 4,800
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 2 ครั้ง 1,200 2 4,800
ค่าอาหาร 70 คน 130 1 9,100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์

1 ชุด 15,000 1 15,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 3,000 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 46,700

กิจกรรมที่ 3 การให้ความรู้การจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว

ชื่อกิจกรรม
การให้ความรู้การจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว
วัตถุประสงค์
  1. วัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากใช้สารเคมีทางการเกษตร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรสร้างความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพของเกษตรกร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายตามหลักวิชาการ วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 3 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 4 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร
รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P)
- เสนอข้อเสนอโครงการ (ต.ค-ธ.ค.62)

2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
- การเข้าพบผู้นำชุมชนและชุมชน
- การศึกษาดูงานการจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว


3.การติดตามประเมินผล(C)
- การวิเคราะห์ผลของบทเรียนโดยการประเมินตามตัวชี้วัด
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
(1) ตัวชี้วัดของโครงการ
- เชิงปริมาณ
- ระดับการเรียนรู้การใช้สารทดแทนทางการเกษตรรวมถึงการเกษตรผสมผสาน มากกว่าร้อยละ 80
(2) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรเข้าใจหลักการการใช้สารทดแทนทางการเกษตรรวมถึงการเกษตรผสมผสาน
(3) . ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้ความรู้การใช้สารทดแทนทางการเกษตรรวมถึงการเกษตรผสมผสานในพื้นที่ของตนเองและสามารถถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้
(4) ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) (ผลกระทบที่ได้รับจากผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรในท้องถิ่นสามารถใช้สารทดแทนทางการเกษตรรวมถึงการเกษตรผสมผสานส่งผลต่อการลดต้นทุนการผลิตและสุขภาพที่ดีทำให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,500 2 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 12 คน 240 2 5,760
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 5 ครั้ง 2,500 2 25,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 5 ครั้ง 2,000 2 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าน้ำมันรถราชการ

2 ครั้ง 1,000 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 64,760

กิจกรรมที่ 4 การให้ความรู้การจัดทำบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร

ชื่อกิจกรรม
การให้ความรู้การจัดทำบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร
วัตถุประสงค์
  1. วัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนารูปแบบองค์ความรู้โดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวม เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกรจากใช้สารเคมีทางการเกษตร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรสร้างความตระหนักต่อความเสี่ยงด้านสุขภาพของเกษตรกร วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการของเสียอันตรายตามหลักวิชาการ วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 3 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการและป้องกันศัตรูพืชสำหรับการปลูกพืชเชิงเดี่ยว วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ 4 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร
รายละเอียดกิจกรรม
1.วางแผนการดำเนินการ(P)
- เสนอข้อเสนอโครงการ (ต.ค-ธ.ค.61)

2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
- การเข้าพบผู้นำชุมชนและชุมชน
- การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตร




3.การติดตามประเมินผล(C)
- การลงพื้นที่และการวิเคราะห์ผลของบทเรียนโดยการประเมินตามตัวชี้วัด
4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล
การติดตาม(A)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
(1) ตัวชี้วัดของโครงการ
- เชิงปริมาณ
- มีตัวแทนผู้จัดทำบัญชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตรในชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
(2) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ(Output) (ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรทราบต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตรในรอบปี
(3) . ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรเกิดความตระหนักถึงมูลค่าความคุ้มทุนและลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร
(4) ผลกระทบที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) (ผลกระทบที่ได้รับจากผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมย่อย)
- เกษตรกรลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร ซึ่งจะเป็นผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นในภาพรวมของท้องถิ่น
และประเทศชาติต่อไป
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 1,200 2 4,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน 12 คน 240 4 11,520
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 5,000 1 5,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 ครั้ง 1,000 4 4,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 ครั้ง 1,000 3 3,000
ค่าอาหาร 70 คน 130 2 18,200
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 6,000 1 6,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 3,000 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 55,520

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 281,340.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 51,840.00 20,000.00 152,500.00 57,000.00 281,340.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 18.43% 7.11% 54.20% 20.26% 100.00%

11. งบประมาณ

281,340.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ได้รูปแบบการลดความเสยี่งอันตรายจากสารเคมีทางการเกษตรตอ่สุขภาพของ เกษตรกรโดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวมที่เหมาะสมกับชุมชน 1 รูปแบบซึ่งมีระดับความพึงพอใจต่อรูป แบบทั้ง 4 กิจกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80 และมีตัวชี้วัดในแต่ละมิติประกอบด้วย
- เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย อย่างน้อยร้อยละ 80 มีการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทาง การเกษตรและมีความตระหนักตอ่ความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
- ระดับการปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรในร่างกายเกษตรกรดีขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วม โครงการ
- ชุมชนมีแหล่งการจัดการของเสียอันตรายด้วยตนเองอย่างน้อย 1 แห่ง
- ระดับการเรียนรู้การใช้สารทดแทนทางการเกษตรรวมถึงการเกษตรผสมผสาน มากกว่าร้อยละ 80
- มีตัวแทนผู้จัดทาบญั ชีต้นทุนการใช้สารเคมีทางการเกษตรในชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วม โครงการ
นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
ผลลัพธ์ (Outcome) กษตรกรและคนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60 สามารถปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีทางการเกษตรเพื่อลดความเสยี่งอันตรายจากสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพ การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
ผลกระทบ (Impact) ค์กรเครือข่ายในระดับท้องถิ่นสามารถนารูปแบบรูปแบบการลดความ เสี่ยงอันตรายจากสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพของเกษตรกรโดยการปรับพฤติกรรมแบบองค์รวมนามาขยายผล และปรับใช้กับชุมชนอื่นได้ การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 00:54 น.