โครงการโซลาร์ระบบประปาหมู่บ้านสำหรับการพัฒนาชุมชน

แบบเสนอโครงการ
โครงการโซลาร์ระบบประปาหมู่บ้านสำหรับการพัฒนาชุมชน

1. ชื่อโครงการ

โครงการโซลาร์ระบบประปาหมู่บ้านสำหรับการพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตากชุมชนหมู่บ้านภูต่าง หมู่ที่ 10 ต.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์นายสวัสดิ์ ยุคะลัง41/1 หมู่ 7 ถนนพหลโยธิน ตำบลไม้งาม อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
อุตรดิตถ์ บ้านโคก บ่อเบี้ย

3. รายละเอียดชุมชน

ปัจจุบันประเทศไทยมีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นอย่างมากและมีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปี จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัด หนึ่งที่มีแนวโน้มการใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของเขตอาเภอที่ติดอยู่กับแนวชายแดนการเข้าถึงการคมนาคม และระบบไฟฟ้าในบางเขตแต่ละพื้นที่ยังมีความยากลาบากและบางหมู่บ้านไฟฟ้าที่ส่งจ่ายเข้าไปยังไม่มีเสถียรภาพที่ดีพอ การพัฒนา ระบบสาธารณูปโภคของเขตพื้นที่ต่างๆ บางฤดูการปัญหาแหล่งน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอาจจะยังไม่เพียงพอ การหาที่กักเก็บน้าหรือ ใช้ระบบสูบน้าใต้ดินเพื่อกักเก็บจึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมและเร่งด่วนสาหรับชุมชนที่อยู่ห่างไกล หรือชุมชนที่ขาดแคลนแหล่งน้า ใน ต่างอาเภอการพัฒนาการใช้พลังงานทดแทนอย่างเช่นพลังงานจากแสงอาทิตย์ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากในปัจจุบันของเขตพื้นที่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ชุมชนหมู่บ้านภูต่าง หมู่ที่ 10 ต.บ่อเบี้ย อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ ที่มีประชากรประมาณ 70 หลังคาเรือน ที่อยู่ใกล้เขต ชายแดนไทย-ลาว ก็ประสบปัญหาภัยแล้งและแหล่งกักเก็บน้าเช่นเดียวกัน ด้วยหลักการนาพลังงานและการแปลงผันพลังงานมาใช้ และมีแนวโน้มการใช้พลังงานทดแทนสูงมากยิ่งขึ้น เช่น พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม ฯลฯ เนื่องจากวงจรการควบคุมและระบบ การควบคุมรวมถึงตัวอุปกรณ์สาหรับการควบคุมจึงมีส่วนสาคัญที่จะทาให้ระบบการจ่ายมีศักยภาพและคุณภาพของพลังงานที่จ่ายมี ประสิทธิภาพ ซึ่งในแต่ละจังหวัดในประเทศมีอีกหลายจังหวัดที่มีลักษณะภูมิประเทศที่ใกล้เคียงจังหวัดอุตรดิตถ์และรวมถึงภูมิภาคที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับประเทศไทย ซึ่งจะสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนและท้องถิ่นให้ดียิ่งขึ้นได้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่ประสบ ปัญหาภัยแล้งอย่างหนัก กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอ้างถึงหนังสือด่วนของกระทรวงมหาดไทยให้เร่งขุดเจาะบ่อบาดาลเพื่อ แก้ไขบัญหาภัยแล้งและโครงการสูบน้าใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตรด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เป็นมาตรฐานส่งเสริมความ เป็นอยู่ระดับตาบลทั่วประเทศโครงการต่างๆที่เร่งด่วนนี้ พืนที่ที่อยู่ห่างไกลชนบท ตาบลหรือเทศบาลที่ประสบปัญหาภัยแล้งยิ่งต้อง ได้รับการแก้ไข้เป็นการเร่งด่วน ระบบโซล่าร์ปั๊มและชุดควบคุม รวมถึงอุปกรณ์ในการใช้งาน จะต้องมีประสิทธิภาพและราคาถูก สามารถที่จะใช้งานได้สะดวกและบารุงรักษาได้ง่าย มีทางเลือกสาหรับผู้บริโภคที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น การพัฒนาชุดควบคุมควบคุม กาลังไฟฟ้าของอินเวอร์เตอร์สามเฟส สาหรับการประยุกต์ใช้งานระบบโซล่าร์ปั๊มที่ดีจะส่งผลต่อระบบการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่ดีและ มีประสิทธิภาพด้วยเช่นกันปัจจุบันประเทศไทยมีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นอย่างมากและมีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปี จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัด หนึ่งที่มีแนวโน้มการใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของเขตอาเภอที่ติดอยู่กับแนวชายแดนการเข้าถึงการคมนาคม และระบบไฟฟ้าในบางเขตแต่ละพื้นที่ยังมีความยากลาบากและบางหมู่บ้านไฟฟ้าที่ส่งจ่ายเข้าไปยังไม่มีเสถียรภาพที่ดีพอ การพัฒนา ระบบสาธารณูปโภคของเขตพื้นที่ต่างๆจากปัญหาภัยแล้งดังกล่าวของชุมชนหมู่บ้านภูต่างในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ จากเดิมที่ใช้เก็บกักน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค ด้วยตุ่มและโอ่งที่แล้วแต่ละบุคคลจะมีศักยภาพในการจัดหามาได้ เพื่อรอรับน้าฝนแต่ละฤดูกาล ทาให้มีปริมาณน้าไม่เพียงพอต่อการ อุปโภค บริโภค และรวมถึงน้าสาหรับการทาเกษตรกรรมและการเพาะปลูก ทาให้ช่วงฤดูแล้งต้องพึ่งพาแหล่งน้าจากบ่อน้าเลี้ยงปลา เพื่อประกอบอาหารของโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 ที่อยู่ใกล้เคียงในพื้นที่ ซึ่งเป็นเพียงการช่วยบรรเทาได้ในระดับ หนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากฤดูแล้งทางโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนยอดโพธิ์ทอง 1 ก็ประสบปัญหาการขาดแคลนน้าสาหรับกิจกรรม ของโรงเรียนเช่นเดียวกันพัฒนาเทคโนโลยีและออกแบบชุดควบคุมประกอบสร้างขึ้นเองเป็นต้ นแบบโดยใช้วัสดุและ อุปกรณ์ภายในประเทศ สร้างต้นแบบชุดควบคุมกาลังไฟฟ้าของอินเวอร์เตอร์สามเฟส สาหรับการประยุกต์ใช้งานระบบโซล่าร์ปั๊มขนาด 2 แรงม้าของระบบประปาหมู่บ้าน เพื่อใช้งานจริงในชุมชนใช้สาหรับเป็นชุดควบคุมการใช้โซล่าร์ปั๊มมาแปลงผันเป็นพลังงานทดแทนที่มี ประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบการใช้งานจริงและเพื่อการศึกษาวิจัยและพัฒนาต่อไปในเชิงพาณิชย์ได้ รวมถึงการประกอบสร้างชุดอบ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อการแปรรูปสินค้าเกษตรในการพัฒนาชุมชนยกระดับคุณภาพชีวิต สามารถพึ่งพา ตนเองได้

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

หลักการนำพลังงานและการแปลงผันพลังงานมาใช้ และมีแนวโน้มการใช้พลังงานทดแทน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

300,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ชุดอุปกรณ์ต้นแบบวงจรและระบบชุดควบคุมกาลังไฟฟ้าของอินเวอร์เตอรส์ ามเฟส สาหรับการประยุกต์ใช้งานระบบโซล่าร์ปมั๊ ขนาด 2 แรงม้าและชุดอบพลังงานแสงอาทิตย์ในชุมชนหมู่บ้านภูตา่งเพื่อการใช้งานจริง นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
ผลลัพธ์ (Outcome) ได้ชุดอุปกรณ์ต้นแบบวงจรและระบบชุดควบคุมกาลังไฟฟ้าของอินเวอร์เตอรส์ ามเฟส สาหรับการประยุกต์ใช้งานระบบโซล่าร์ปมั๊ ขนาด 2 แรงม้า ระบบโซลาร์ระบบประปาหมู่บ้าน ในชุมชนหมู่บ้านภตู ่างเพื่อการใช้งานจริง จานวน 1 ชุด. การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
ผลกระทบ (Impact) โซลาร์ระบบประปาหมู่บ้านสาหรับการพัฒนาชุมชนที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการควบคุมกาลังไฟฟ้าของอินเวอร์เตอร์สามเฟส และชุดอบพลังงานแสงอาทิตย์ สาหรับชุมชนหมู่บ้านภูต่างเพื่อการอุปโภคบริโภคและพัฒนาอาชีพได้ การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 00:36 น.