นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

แบบเสนอโครงการ
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

1. ชื่อโครงการ

นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา ในพื้นที่ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิตำบลนาฝายนางปภัสรา ระกิติมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 167 หมู่2 ถนนชัยภูมิ-ตาดโตน ตำบลนาฝาย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 36000เบอร์โทร 09208126711. นายธนากร พันหนองนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
2. นางสาวบุตรศยากรณ์ สถิตย์ธรรมนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
3. นางสาวเพ็ญนภา อุดมพรนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
4. นางสาวบุษกรรัตน์ อินทร์เพชรนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
5. นางสาวมุทิกา พรมบุตรนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
6. นายคิมหันต์ แหล่วแซงนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์
7. นายธีรยุทธ อำนวยสวัสดิ์ชัยนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์
8. นางสาววัชราภรณ์ ไชยศรีนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์
9. นายเกียรติศักดิ์ ชุมแวงวาปีนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์
10. นายชิษณุพงศ์ ขัดทัศน์นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา
11. นายธวัฒน์ชัย พรมเทพ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ชัยภูมิ เมืองชัยภูมิ นาฝาย
ชัยภูมิ เมืองชัยภูมิ นาเสียว อื่น ๆ

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนใกล้เคียงโดยรอบพื้นที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ1. อาจารย์และนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มีศักยภาพในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนรูปแบบกระบวนการ (ค่ายดาราศาสตร์ ค่ายวิทยาศาสตร์ ค่ายคณิตศาสตร์)
2. ชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียงมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิให้ความร่วมมือและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมด้วยดีอย่างสม่ำเสมอตลอดมา
นักเรียนด้อยโอกาสในการเข้าถึงสถาบันเพื่อการพัฒนาทักษะและกระบวนทางการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนระดับประถมศึกษา และการเลือกใช้เวลาว่างเสริมสร้างศักยภาพด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. แนวคิดการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ใช้รูปแบบการวิจัยแบบ R&D
2. การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิด STEM Maker

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก

ร้อยละ 50 ของนวัตกรรมที่นำไปใช้สามารถเสริมสร้างทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้

0.50 0.50
2 2. นักเรียนระดับประถมศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้

ร้อยละ 50 ของจำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษาในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม

0.50 0.50

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. นักเรียนระดับประถมศึกษาในพื้นที่เป้าหมาย 256
2. สถานศึกษาในพื้นที่เป้าหมาย 16
3. ครอบครัวของนักเรียนที่เข้าร่วมในพื้นที่เป้าหมาย 256

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

ชื่อกิจกรรม
การสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงาน
2. ร่างนวัตกรรมการเรียนรู้
3. ประเมินความเป็นไปได้ของร่างนวัตกรรมการเรียนรู้โดยผู้ทรงคุณวุฒิ
4. ทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
5. ประเมินและสรุปผลการทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สามารถนำไปพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 1 ชุด
2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาด้านการออกแบบสื่อและนัวตกรรมการจัดการเรียนรู่
ทรัพยากรอื่น ๆ
สถานที่ที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. สถานศึกษา
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. ชุมชุน
4. สถาบันครอบครัว
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน 2,000 2 20,000
ค่าอาหาร 20 คน 250 1 5,000
ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 8,000 3 24,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 200 2 32,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 5 ชิ้น 5,000 1 25,000
ค่าที่พักตามจริง 12 คน 1,200 2 28,800
ค่าถ่ายเอกสาร 20 ชุด 500 2 20,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 3,000 2 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 160,800

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนัวตกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนัวตกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา
วัตถุประสงค์
  1. 2. นักเรียนระดับประถมศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม
1. นำนวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปใช้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับประถมศึกษาในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย
2. ประเมินพัฒนาการด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของผู้เรียน
3. ประเมินนวัตกรรมที่นำไปใช้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับประถมศึกษาในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย
4. แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนานวัตกรรมที่นำไปใช้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับประถมศึกษาในชุมชนพื้นที่เป้าหมายแล้ว
5. เผยแพร่องค์ความรู้ให้สถานศึกษา ชุมชน ตีพิมพ์บทความวิจัย/บทความวิชาการ/นำเสนองานในการประชุมระดับชาติ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. นักเรียนระดับประถมศึกษาในชุมชนพื้นที่เป้าหมายได้รับพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น
2. นักเรียนระดับประถมศึกษามีเจตคติที่ดีขึ้นต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3. นวัตกรรมได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพดีขึ้น
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภุมิ
2. ชุมชน
3. สถาบันครอบครัว
4. สถานศึกษา
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 12 คน 500 32 192,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ชุด 2,000 16 32,000
ค่าอาหาร 16 คน 200 16 51,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 4 ชุด 400 32 51,200
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ชุด 100 32 12,800
รวมค่าใช้จ่าย 339,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 244,000.00 179,800.00 76,200.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 48.80% 35.96% 15.24% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ร้อยยละ 50 ของเด็กในชุมชนได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ นักศึกษาได้เทียบผลการเรียนในรายวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด
ผลลัพธ์ (Outcome) เด็กในชุมชนมีทักษะกระบวนการทางงวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ดีขึ้น นักศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้และนำไปใช้ในสถานการณ์จริง
ผลกระทบ (Impact) เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักศึกษามีสมรรถนะความเป็นครู สามารถออกแบบและใช้นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาประเทศชาติและกำลังคนให้มีคุณภาพได้
นำเข้าสู่ระบบโดย papassara papassara เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 00:20 น.