"การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความยั่งยืนในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์"

แบบเสนอโครงการ
"การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความยั่งยืนในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์"

1. ชื่อโครงการ

"การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความยั่งยืนในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์"มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาจารย์เทศบาลตำบลนาจารย์1.ดร.ปภาพิต ศรีสว่างวงศ์ 2. ผศ.กุณฑีราอาษาศรีสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 440000893944790อาจารย์
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไอลัดดา โอ่งกลางสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ ประธานที่ปรึกษา
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารุวรรณ เอกสะพัง สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ กรรมการ
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมร โททำสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ กรรมการ
4. อาจารย์นิธิภักดิ์กทิศาสตร์สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ กรรมการ
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยะวรรณยางคำ สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการกรรมการ
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร นามนัยสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการกรรมการ
7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กชวราศาลารมย์สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการกรรมการ
8. อาจารย์สรดาวงศ์มังกรสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ กรรมการ
9. อาจารย์สิริกรวานิชสุจิตสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการกรรมการ
10. รองศาสตราจารย์ ดร.ธนัณชัย สิงห์มาตย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ กรรมการ
11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุณฑีราอาษาศรีสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ กรรมการและเลขา

นักศึกษา ชื่อ-สกุล รหัสนักศึกษา สาขาวิชา สังกัดคณะ และรายวิชาที่ทำการเทียบโอน และจำนวนหน่วยกิต
เทียบโอนกับรายวิชา ระเบียบวิธีวิจัย รหัสวิชา4010305หน่วยกิต 3 (2-2-5)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาผู้ช่วยศาสตราจารย์กุณฑีราอาษาศรี
1. นางสาวรุ่งทิวา ภูสีรหัสนักศึกษา 603140200125สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2. นางสาวปนัดดา ประสานชาติ รหัสนักศึกษา 603140200116สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3. นางสาวพรพิมล สุนทร รหัสนักศึกษา 603140200120สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
4. นางสาวสุจิตรา จะไปรัมย์รหัสนักศึกษา 603140200133สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
5. นางสาวมณีกานต์ ภูแก้ว รหัสนักศึกษา 603140200115สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เทียบโอนกับรายวิชา นวัตกรรมและกลยุทธ์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์รหัสวิชา4030306 หน่วยกิต 3 (2-2-5)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา รองศาสตราจารย์ ดร. ธนัณชัยสิงห์มาตย์
6. นางสาววิชุดา ชนะพันธ์รหัสนักศึกษา 613340130116สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
7. นางสาวศรุตา วิมาสรหัสนักศึกษา 613340130110สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เทียบโอนกับรายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ2 รหัสวิชา4030401หน่วยกิต 3 (2-2-5)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อจารย์ปริญญา ทองคำ
8. นางสาววิชุดา ชนะพันธ์รหัสนักศึกษา613340130116สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
9. นางสาวสุนันทา ซ้ายก่ารหัสนักศึกษา 613340130117สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เทียบโอนกับรายวิชา การบัญชีบริหารการกีฬา รหัสวิชา 4010423หน่วยกิต 3 (3-0-6)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์ ดร. ปภาพิตศรีสว่างวงศ์
10. นายสรายุทธ เลื่อมใส รหัสนักศึกษา603110290232สาขาวิชาการบริหารการจัดการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
11. นายศิรวิทย์ พงพันนา รหัสนักศึกษา603110290229สาขาวิชาการบริหารการจัดการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
12. นายกมล นิลผายรหัสนักศึกษา603110290204สาขาวิชาการบริหารการจัดการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
13. นายจิรวัฒน์ อินธิแสนรหัสนักศึกษา603110290210สาขาวิชาการบริหารการจัดการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
14. นายศิรวิทย์ พงพันนารหัสนักศึกษา603110290229สาขาวิชาการบริหารการจัดการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
15. นายธีระพล รัตน์วิชัย รหัสนักศึกษา603110290239สาขาวิชาการบริหารการจัดการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่

3. รายละเอียดชุมชน

โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ โดยจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ดำเนินงานเพื่อสาธารณะประโยชน์ และเป็นองค์กรการกุศลที่ไม่แสวงหากำไร
ต้องการให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพร่างกายให้เหมาะกับวัย ได้รับความรู้ในเรื่องของการปฏิบัติตนอย่างไรให้ยืนอยู่ได้ในสังคมปัจจุบัน. และการฝึกอาชีพให้กับกลุ่มของนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ เพื่อหารายได้เข้าสู่โรงเรียน โรงเรียนจะได้มีงบประมาณในการนำไปดำเนินกิจกรรมอื่นๆตามความประสงค์ของสมาชิกต่อไป
ซึ่งเดิมนั้นทางโรงเรียนเคยรวมกลุ่มกันทำน้ำยาล้างจานแล้ว แต่ไม่มีตลาดรองรับ มีแต่การขายให้กลุ่มนักเรียนเอง ร่วมด้วยช่วยกันอุดหนุน และแล้วก็ล้มไม่สามารถเดินต่อได้ เพราะขาดตลาดรองรับ
หากเป็นไปได้ก็ต้องการให้ช่วยฝึกทำอะไรสักอย่างเพื่อให้กลุ่มนักเรียนได้ช่วยกันทำ สร้างรายได้ให้กับโรงเรียน. และช่วยดูในเรื่องของการตลาดด้วย
ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาจารย์ ที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน โดยโรงเรียนมีอุปกรณ์พื้นฐานในการพัฒนาผู้สูงอายุ ดังนี้
1) อาคารเรียนของผู้สูงอายุ
2) กลอง
3) เครื่องดนตรี
4) โปรเจคเตอร์
5) อาหารกลางวัน
6) กระดาน
7) ปากกาไวท์บอร์ด
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งแน่นอนว่าแนวโน้มของผู้สูงอายุจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆปัญหาจากภาวะประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นส่งผลกระทบให้สถานะทางการเงิน การคลังของรัฐ และเศรษฐกิจของประเทศ หากพิจารณาทรัพยากรของประเทศที่จะรองรับ การดูแลผู้สูงอายุในอนาคตคงไม่เพียงพอภาครัฐและเอกชนได้กำหนดจัดสวัสดิการสังคม ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์การมหาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 (กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2548) รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีอำนาจหน้าหน้าที่ตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งและพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 ในการสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ได้ปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมสวัสดิการแก่ผู้สูงอาย
แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้สูงอายุอย่างบูรณาการขึ้นเพื่อให้เกิดการทำงานในเชิงรุก โดยมีแนวคิดที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนและระบบคุ้มครองทางสังคม ที่เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสังคมและชุมชน ในรูปแบบสังคมสวัสดิการ เพื่อให้คนไทยทุกกลุ่มวัยมีหลักประกันอันมั่นคงยามชราภาพอย่างทั่วถึง พึ่งตนเองได้ สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และเสนอแนะกรอบทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาผู้สูงอายุในประเด็นสำคัญๆ ที่ควรสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยคำนึงถึงความเชื่อมโยงของการดำเนินงานในระดับพื้นที่และท้องถิ่น อันจะเป็นการเตรียมการรองรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุต่อไป
จากการสำรวจประชากรในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ตั้งแต่ช่วงอายุ 1 ปี – 100 ปี พบว่า มีจำนวนประชากรทั้งหมด 39,763 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ 4,456 คน หรือคิดเป็น 11.2% จากการสำรวจประชากรในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ตั้งแต่ช่วงอายุ 1 ปี – 100 ปี พบว่า มีจำนวนประชากรทั้งหมด 39,763 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ 4,456 คน หรือคิดเป็น 11.2%ซึ่งมีจำนวนผู้สูงอายุให้ความสนใจเข้าร่วมกว่า 200 คน นำมาซึ่งข้อตกลงที่จะขับเคลื่อนงานร่วมกันในนาม “โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์” โดยจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ดำเนินงานเพื่อสาธารณะประโยชน์ และเป็นองค์กรการกุศลที่ไม่แสวงหากำไร
ปัญหาและความต้องการของชุมชน คือ ชุมชนต้องการมีกลุ่มอาชีพที่มั่นคงและยั่งยืนสามารถไปต่อได้แบบไม่ต้องรอเงินสนับสนุนอยู่ตลอด จากการสัมภาษณ์หน่วยงาน มีงบประมาณให้ชุมชนทำ แต่เคยให้ทำแล้วก็ล้มเหลว ถึงแม้ว่าเทศบาลจะให้การสนับสนุน โดยหาวิทยากรในการฝึกอบรมให้ หาแหล่งจัดจำหน่ายให้ แต่เนื่องจาก ชุมชุนยังไม่เล็งเห็นคุณค่าและประโยชน์ของการทำโครงการนี้เสริมอาชีพเท่าใดนัก นอกจากนั้น ชุมชนก็พอมีพอกิน ส่วนใหญ่จะทำได้ประมาณ 1-2 เดือนก็สลายตัวแยกย้ายกันไปทำไร่ทำนาเหมือนเดิม ดังนั้น สาขาฯต้องสร้างรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืนได้อย่างไร
ต้องการอาชีพที่มั่นคงที่จะสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ชุมชนต้องการมีกลุ่มอาชีพที่มั่นคงและยั่งยืนสามารถไปต่อได้แบบไม่ต้องรอเงินสนับสนุนอยู่ตลอด

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ
2.แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากการหัตถกรรม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวของผู้สูงอายุ

สุขภาพจิตใจดีขึ้น

5.00 100.00
2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้มีความสุข สุขภาพดี

จำนวนครั้งในการเข้ารับการรักษาพยาบาลลดลง

200.00 50.00
3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีช่องทางการหารายได้เพิ่มขึ้น

ช่องทางการหารายได้เพิ่มขึ้น

2.00 1.00
4 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการออมเงิน

การออมเงิน

200.00 80.00
5 เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่

ผลิตภัณฑ์ใหม่ 1 ผลิตภัณฑ์

1.00 1.00
6 เพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 1 รูปแบบ

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลนาจารย์ อ.เมือง จ.กาฬสินธ 200

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้มีความสุข สุขภาพดี
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการออมเงิน
รายละเอียดกิจกรรม
1. การสำรวจความต้องการและความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ
2. นำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ข้อมูลแล้วทำการดำเนินกิจกรรม
3. การอบรมและจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอยู่อย่างไรให้มีความสุข
4. การอบรมเกี่ยวกับการออมและการทำบัญชีรายรับ รายจ่าย
5. กิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวของผู้สูงอายุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการครบทุกคน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. เทศบาลตำบลนาจารย์
2. โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาจารย์
3. หลักสูตรคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
4. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
5. หลักสูตรการกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน3 ท่านๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 4 ครั้ง(6X4X600X6=43,200)

18 คน 600 4 43,200
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าแบบสำรวจ จำนวน 200 ชุดละ 10 บาท

200 ชุด 10 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุสันทนาการ 200 ชุดๆ 200 บาท =40,000

200 ชุด 200 1 40,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรอบรมรายรับรายจ่าย จำนวน3 ท่านๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 4 ครั้ง(6X4X600X6=43,200)

18 คน 600 4 43,200
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม 200 ชุด ๆ 108 บาท = 21,600

200 ชุด 108 1 21,600
รวมค่าใช้จ่าย 150,000

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีช่องทางการหารายได้เพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
1. สำรวจพื้นที่เป้าหมายเรื่องวัตถุดิบที่สามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างรายได้
2. อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 มกราคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อสร้างรายได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาจารย์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
2. เทศบาลตำบลนาจารย์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
3. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ท่านๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 2 ครั้ง(6X1X1,200X2)=28,800)

12 ครั้ง 1,200 2 28,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน4 ท่านๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง(6X4X600X2=28,800)

24 ครั้ง 600 2 28,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุฝึกแปรรูปผลิตภัณฑ์ 200 ชุด ๆ 820 บาท =164,000

200 ชุด 820 1 164,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าจ้างทำเอกสารประกอบการอบรม 200 ชุด ๆ 130 บาท =26,000

200 ชุด 130 1 26,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน

1 ครั้ง 2,400 1 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 250,000

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสรุปการดำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสรุปการดำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
1.อบรมและสนทนากลุ่มระหว่าง ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำการสรุปรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง 15 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่ม 200*200 บาท จำนวน 2 วัน

200 คน 200 2 80,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 ท่านๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 วัน(6X1X600X2)=7,200)

12 ครั้ง 600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าจ้างทำเอกสารประกอบการอบรม 200 ชุด ๆ 64 บาท =12,800

200 ชุด 64 1 12,800
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 190,000.00 103,600.00 206,400.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 38.00% 20.72% 41.28% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1.ผู้สูงอายุรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพของตนให้แข็งแรงลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยกระฉับกระเฉงลดระยะเวลาการพึ่งพาผู้อื่น
2.ผู้สูงอายุได้คลายเหงาจิตใจ รู้สึกภาคภูมิใจและตระหนักในคุณค่าความสามารถของตนเองมีมุมมองเชิงบวกต่อตนเอง
3.ผู้สูงอายุได้รู้เท่าทันและเข้าใจสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นสามารถปรับตัวและการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามวัย
4.มีผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อสร้างรายได้
1. สามารถวางแผนการจัดกิจกรรม และดำเนินการสันทนาการได้
โดยนักศึกษาในรายวิชา การบัญชีบริหารการกีฬา รหัสวิชา 4010423 สามารถเทียบโอนรายวิชาได้ จำนวน 3 หน่วยกิต
2. สามารถนำความรู้สู่การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอยู่อย่างไรให้มีความสุข โดยการใช้สื่อออนไลน์ เพื่อสร้างสุข โดยนักศึกษาในรายวิชานวัตกรรมและกลยุทธ์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา4030306 สามารถเทียบโอนได้จำนวน 3 หน่วยกิตและรายวิชา รหัสวิชา4010305 สามารถเทียบโอนได้ จำนวน 3 หน่วยกิต
3. สามารถนำผลการสำรวจมาสรุปและวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับพื้นที่เป้าหมายภูมิปัญญา ทรัพยากรท้องถิ่น ที่สามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างรายได้ และนำมาสู่การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยนักศึกษาในรายวิชา เทียบโอนกับรายวิชา ระเบียบวิธีวิจัย รหัสวิชา4010305 สามารถเทียบโอนได้จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลลัพธ์ (Outcome) 1.จำนวนครั้งในการเข้ารับการรักษาพยาบาลลดลง ร้อยละ 50
2. มีรายได้เพิ่มขึ้น
1. นำความรู้จากการกีฬาไปพัฒนาชุมชุม
2. นำความรู้จากห้องเรียนไปพัฒนาการใช้สื่อออนไลน์
3. นำความรู้จากห้องเรียนเกียวกับการพัฒนผลิตภัณฑ์สู่ท้องถิ่น
4. นำความรู้เรื่องรายรับรายจ่ายไปพัฒนาชุมชน
5. เกิดทักษะการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
ผลกระทบ (Impact) 1.ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มทำกิจกรรมสร้างรายได้ให้กับโรงเรียนและสามารถนำไปสร้างเป็นรายได้ให้กับครัวเรือนของตนเองได้
2.ชุมชนได้รับรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น
3.ชุมชนเข้าใจหลักการและวิธีการออมเงินที่ถูกต้อง
1. นำความรู้จากห้องเรียนเกียวกับการพัฒนผลิตภัณฑ์สู่ท้องถิ่น
2. นำความรู้เรื่องรายรับรายจ่ายไปพัฒนาชุมชน
3. นักศึกษาในรายวิชา การบัญชีบริหารการกีฬา รหัสวิชา 4010423 สามารถเทียบโอนรายวิชาได้ จำนวน 3 หน่วยกิต
4. นักศึกษาในรายวิชานวัตกรรมและกลยุทธ์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา4030306 สามารถเทียบโอนได้จำนวน 3 หน่วยกิตและรายวิชา รหัสวิชา4010305 สามารถเทียบโอนได้ จำนวน 3 หน่วยกิต
5. นักศึกษาในรายวิชา เทียบโอนกับรายวิชา ระเบียบวิธีวิจัย รหัสวิชา4010305 สามารถเทียบโอนได้จำนวน 3 หน่วยกิต
นำเข้าสู่ระบบโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุณฑีรา  อาษาศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุณฑีรา อาษาศรี เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 23:46 น.