การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพียงพอ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพียงพอ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วมสู่กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล บ้านเพียงพอ อำเภอพบพระ จังหวัดตากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่/วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น/มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตากคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่/คณะบริหารธุรกิจวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น /คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่/กลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ1. ดร. เจษฏา ช.เจริญยิ่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)2. นางจุฑามาศ นวลพริ้ง ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)3. ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ4. ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่5. นายเอ็มมาร์นูแอล ตาดิ ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ 6. สมาชิกกลุ่มการท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ 7. เยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพียงพอ (บ้านห้วยน้ำนัก หมู่ที่ 4 ต.พบพระ อ.พบพระ จ.ตาก)ดร. ภาคภูมิ ภาควิภาส/ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร/ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส/ดร. สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์/ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก/อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี/อาจารย์ เบญญาภา กันทะวงศ์วาร ดร. กัญญาการณ์ ไซเออร์ /นางสาวธนภรณ์ นาคนรินทร์1. ดร. ภาคภูมิ ภัควิภาส คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/ 2. ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธรคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000/ 3. อาจารย์ เบญญาภา กันทะวงศ์วารคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/ 4. ดร.กัญญกาญจน์ไซเออร์ส คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ที่อยู่ 150 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000/ 5.อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก 41 หมู่ 7 ถนนพหลโยธิน ตำบลไม้งาม อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000/ดร.รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000/e-mail: tok2029@gmail.com/ดร. ภาคภูมิ ภัควิภาส คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/e-mail: artpakphum@gmail.com1. กลุ่มชุนชนบ้านเพียงพอ(บ้านห้วยน้ำนัก หมู่ที่ 4 ต.พบพระ อ.พบพระ จ.ตาก) จำนวน 15 คน
2. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น จำนวน 5 คน
3. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เชียงใหม่ จำนวน10 คน
4. อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นและคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตากและเชียงใหม่คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน10 คน
5. หน่วยงานภาครัฐตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังวหัดตาก จำนวน 5 คน
6. ชาวชุมชนเยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพียงพอ จำนวน 25 คน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่

3. รายละเอียดชุมชน

หมู่บ้านห้วยน้ำนัก (บ้านเพียงพอ) หมู่ที่ 4 ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก เป็นหมู่บ้านของชาวกะเหรี่ยงที่เรียกตัวเองว่า "ปกาเกอญอ" ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกร ประกอบไปด้วย การปลูกข้าวไร่, ทำไร่ข้าวโพด, ทำนา และการปลูกพืชผักสวนครัวทั่วไป ยังมีการเลี้ยงสัตว์ เช่น โคเลี้ยง, กระบือ, หมู และไก่ ประชากรในหมู่บ้านยังมีวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมส่วนใหญ่จะนับถือผี มีการบวงสรวงและเซ่นสังเวย เชื่อเรื่องต้นไม้ป่าใหญ่ แต่ภายหลังหันมานับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์มากขึ้น แต่ก็ยังคงความเชื่อเดิมอยู่บ้าง หมู่บ้านจะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อนมีพื้นราบอยู่เพียงเล็กน้อย ลักษณะภูมิอากาศมีสภาพอากาศที่เย็นสบายตลอดทั้งปี รวมไปถึงพันธุ์ไม้ และสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ในหมู่บ้านยังมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ได้แก่ ถ้ำผาขาว - ผาแดง, ดอยตะโจ, น้ำตกผาขาว – ผาแดง และถ้ำขาวมรกตอีกทั้งยังมีผลิตภัณฑ์หลากหลายในหมู่บ้าน เช่น ตะกร้าไม้ไผ่ และผ้าทอกระเหรี่ยง เป็นต้น สภาพทางธรรมชาติบนเทือกเขาชมวิวทิวทัศน์การแสดงวัฒนธรรมชนเผ่าพื้นบ้าน ร้านแสดงสินค้า ชาวเขา พื้นบ้าน และ ผลิตผลทางการเกษตร การนั่งช้างชมธรรมชาติ การ ล่องเรือ คายัค ลำน้ำเมย เป็นการสร้างรายได้ กระตุ้นเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนในพื้นที่และส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวของอำเภอพบพระให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางแก่นักท่องเที่ยว จากโครงการส่งเสริมการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติอำเภอพบพระ การแสดงชนเผ่าปากะญอ ของกลุ่มเยาวชนบ้านห้วยน้ำนัก การแสดงช้างมะลิจากบ้านเกาะช้าง ซุ้มจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม ล่องเรือคายัค ชมวิถีชายขอบ ริมชายแดนไทย-เมียนมาร์ 2 ฝั่งแม่น้ำเมยแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ไหลจากใต้ขึ้นเหนือ ซึ่งขณะนี้เริ่มมีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติบ้านพอเพียงจัดตั้งเมื่อปี พุทธศักราช 2558ก่อตั้งโดยนายเอ็มมาร์นูแอลตาดิ จัดตั้งเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอยูร่วมกับป่าและชุมชนตามวิถีวัฒนธรรมของชนเผ่าปกาเกอญอซึ่งมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เข้ามาให้ความรู้แก่เยาวชนในหมู่บ้านหมู่บ้าน โดยชุมชนยังมีวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมส่วนใหญ่จะนับถือผี มีการบวงสรวงและเซ่นสังเวย เชื่อเรื่องต้นไม้ป่าใหญ่ แต่ภายหลังหันมานับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์มากขึ้น แต่ก็ยังคงความเชื่อเดิมอยู่บ้าง หมู่บ้านจะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อนมีพื้นราบอยู่เพียงเล็กน้อย ลักษณะภูมิอากาศมีสภาพอากาศที่เย็นสบายตลอดทั้งปี รวมไปถึงพันธุ์ไม้ และสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ในหมู่บ้านยังมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ได้แก่ ถ้ำผาขาว - ผาแดง, ดอยตะโจ, น้ำตกผาขาว – ผาแดง และถ้ำขาวมรกตอีกทั้งยังมีผลิตภัณฑ์หลากหลายในหมู่บ้าน เช่น ตะกร้าไม้ไผ่ และผ้าทอกระเหรี่ยง เป็นต้น สภาพทางธรรมชาติบนเทือกเขาชมวิวทิวทัศน์การแสดงวัฒนธรรมชนเผ่าพื้นบ้าน ร้านแสดงสินค้า ชาวเขา พื้นบ้าน และ ผลิตผลทางการเกษตร การนั่งช้างชมธรรมชาติ การ ล่องเรือ คายัค ลำน้ำเมย โดยบ้านพอเพียงจะทำการจัดค่ายเยาวชนทุกๆปี โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และหน่วยงานของภาครัฐ เข้ามาสนับสนุน และจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ในปี 2559 บ้านพอเพียงนอกจากจะจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชนแล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวของอำเภอพบพระแห่งหนึ่งการจัดตั้งเป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้น เรานำเยาวชนที่ผ่านการเข้าค่ายมาเป็นมัคคุเทศก์นำเที่ยวและให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมที่จัดขึ้น บ้านพอเพียงมีกิจกรรมต่างๆให้นักท่องเที่ยวได้ร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีบ้านพักโฮมสเตย์การเรียนรู้ทำอาหารพื้นบ้านของเผ่าปกาเกอญอเรียนรู้วิถีประเพณีวัฒนาธรรมของชนเผ่าเรียนรู้การทอผ้ากี่เอวเรียนรู้และศึกษาเครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่าที่เรียกว่า เตหน่ากูการล่องเรือคายัคชมริมสองฝั่งแม่น้ำเมยการเดินป่าศึกษาพืชสมุนไพรและดอกไม้กินได้การปั่นจักรยานชมน้ำตก 3 สาย กิจกรรมที่กล่าวมานี้ บ้านพอเพียงได้ให้เยาวชนเข้ามามีบทบาทมีส่วนร่วมการท่องเที่ยวของบ้านพอเพียงในวันเสาร์-อาทิตย์และช่วงปิดภาคเรียน และสนับสนุนให้เด็กๆและเยาวชนในหมู่บ้านมีรายได้จะเห็นได้ว่าบ้านพอเพียงตระหนักเห็นความสำคัญของเยาวชน สนับสนุนการมีงานทำ เห็นประโยชน์และความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชน เผยแพร่และสืบสานวิถีประเพณีวัฒนธรรมของบรรพบุรุษเพื่ออนาคตข้างหน้า เด็กๆและเยาวชนในหมู่บ้านจะร่วมกันรักษาและอนุรักษ์และนำรายได้เข้าสู่ชุมชนโดยการท่องเที่ยงเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและวัฒนธรรมต่อไปในอนาคตหมู่บ้านพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาเส้นทางการเดินทางไกลจากตัวเมือง การติดต่อสื่อสารจะใช้การสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือเป็นหลักในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งจากการศึกษาและสำรวจหมู่บ้านบ้านห้วยน้ำนัก (บ้านเพียงพอ)ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก ยังไม่เป็นที่รู้จักแก่ผู้คนทั่วไป ยังขาดการเข้าถึงเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวหรือการบริหารจัดการด้านการตลาดรวมถึงสื่อสารเทคโนดิจิดอล จึงทำให้ผู้ที่สนใจเกิดความยากลำบากในการเดินทางเพื่อมาท่องเที่ยวและใช้บริการที่จะค้นหาข้อมูลการท่องเที่ยว โดยยังไม่มีระบบจัดการฐานข้อมูลโดยเป็นการเริ่มจากกระบวนการทำ Village Profile ในเชิงลึกของหมู่บ้าน และการประชาสัมพันธ์สื่อสารการตลาด การท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น และขาดมัคคุเทศก์ในการเล่าเรื่องราวและบรรยายถึงการท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว ประเพณี วัฒนธรรม วิถึชีวิต1. การพัฒนาการท่องเที่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนต่อยอดองค์ความรู้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะสามารถนำไปต่อยอดเชิงพาณิชย์หรือการท่องเที่ยวชุมชนยั่งยืน
2. โครงการยกระดับหมู่บ้าน Village Profile
3. การรวบรวมข้อมูลมีเทคโนโลยีรองรับเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับชุมชน เพื่อเพิ่มการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
4. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขัน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

คณะผู้จัดทำโครงการได้รับทุนและโครงการวิจัยฯ นี้เป็นการพัฒนาย่อยอดจาก “โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan)” ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ที่คณะผู้วิจัยได้รับอนุมัติให้เป็นผู้ดำเนินการโครงการฯ ดังกล่าว จำนวนงบประมาณ 36 ล้านนาบาท เลขที่สัญญา รพ.ปน.01/2558, รพ.ปน. 02/2558, รพ.ปน. 03/2558, รพ.ปน. 06/2558ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน ภาคอีสานตอนบน จำนวนลูกค้าทั้งสิ้นจำนวน 3,000 ราย ในปี 2558 ซึ่งกำหนดให้มีขั้นตอนในการจ้างผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ หรืออบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพ รวมถึงติดตามผลภายหลังจากการได้รับอนุมัติสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิตแก่ลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการทุกราย เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์จุดมุ่งหมายของโครงการสินเชื่อ โดยผลการดำเนินการดังกล่าวทำให้คณะผู้วิจัยเห็นปัญหาหลายปัญหาของผู้ประกอบการและหาแนวทางพัฒนาและลดความเสี่ยงให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จึงเกิดการวิจัยทั้งสองโครงการฯ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและพัฒนาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้ทันต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการฯ เพื่อให้เกิดศักยภาพและการดำเนินงานที่ยั่งยืนของ SMEs โครงการที่เคยได้รับทุนจากฝ่ายวิชาการ สกว.: ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของธุรกิจ SMEs : แผนธุรกิจ
ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตามแผนการบริหารงานและแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ สามารถเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ (Goal results) โดยเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ที่สามารถก่อให้เกิดศักยภาพและมีแนวทางการในการทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมน วัฒนธรรมที่มีสามารถทำให้อนุรักณ์ต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ ดังนี้
1. ความรู้ด้านภูมินิเวศวัฒนธรรมและด้านการจัดการท่องเที่ยวส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ
2. ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อให้เกิดการต่อยอดให้กับชุมชนกลุ่มอื่นๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในเขตภาคเหนือ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ

1.การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2.ชุมชนมีองค์ความรู้ในด้านการท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปต่อยอดและขยายผลต่อกระบวนการผลิต เพื่อลดรายจ่ายต้นทุนและเพิ่มรายได้จากภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. การสร้างมัคคุเทศก์น้อย อย่างน้อย 15 คน

0.40 1.00
2 รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  1. รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
  2. ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
  3. การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่า
0.40 1.00
3 การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
  1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)  จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
  2. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
  3. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code) 4.ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านภูมินิเวศวัฒนธรรมและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ
0.30 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มชุนชนบ้านเพียงพอ(บ้านห้วยน้ำนัก) 15
ชาวชุมชนเยาวชนในหมู่บ้านกลุ่มชุนชนบ้านเพียงพอ 25
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มทร.ชม.,มทร.ตาก 10
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
หน่วยงานภาครัฐตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังวหัดตาก 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ มทร.ตาก,มทร.ชม. 6
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 2
อาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 2

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1.ศึกษาสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน ตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดภูมินิเวศวัฒนธรรม แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
2. ผู้วิจัยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์ในข้อที่ 1 มาดำเนินการจัดทำรูปแบบการพัฒนาศักยภาพบริพื้นที่การท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมมีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยวชุมชนและพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถ
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ได้แนวทางผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวชุมชน(ต้นแบบ) (Tourism Product Testing) อย่างน้อย 2 แนวทาง
2. องค์ความรู้การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนและถอดบทเรียนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดภูมินิเวศวัฒนธรรม แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ได้ข้อมูลบริบทพื้นที่ที่จะนำไปต่อยอดดิจิทัล
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ครั้ง 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 15,000 1 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 4 ครั้ง 2,000 1 8,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาตามจริงกับการดำเนินงานอื่นๆ

4 ครั้ง 8,500 1 34,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ครั้ง 4,000 1 16,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 ครั้ง 8,000 1 16,000
รวมค่าใช้จ่าย 216,400

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 รูปแบบการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 รูปแบบการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1. ผู้วิจัยจะทำการทดสอบผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวชุมชน(ต้นแบบ) (Tourism Product Testing) กับกลุ่มนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวหรือนักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ได้แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวอย่างน้อย 2 แนวทาง
2. การประเมินผลและถอดบทเรียนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดภูมินิเวศวัฒนธรรม แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ได้ข้อมูลบริบทพื้นที่ที่จะนำไปต่อยอดดิจิทัล
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2563 ถึง 25 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยวอย่างน้อย 3-5 รูปแบบ
2. ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการอย่างน้อย 2-5 ผลิตภัณฑ์
3. การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่าร้อยละ 5 ของรายได้ครัวเรือน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 18,000 1 36,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 3,000 1 12,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าใช้จ่ายเบ็ตเตล็ด

2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 5,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 145,400

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ
  2. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
  3. การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
รายละเอียดกิจกรรม
1.ดำเนินการพัฒนาโดยกระบวนการ การจัดอบรมให้ความรู้อย่างมีส่วนร่วมของกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมหน่วยงานภาครัฐ คณะผู้วิจัย ผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการพัฒนผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์การท่องเทียว การกำหนดกิจกรรมการเที่ยวชุมชน การกำหนดส่วนประสมทางการตลาด และการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และการออกแบบสื่อการตลาดดิจิตอล การจัดการตลาดบูรณาการ การจัดการฐาน Village Profile การสร้างมัคคุเทศก์น้อย ต้นไม้พูดได้การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนให้ได้มาตรฐานการท่องเที่ยว และการสร้างตราตราสินค้าชุมชน
2.การพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัลและส่งเสริมการจัดการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด
3.เพื่อพัฒนาตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรมในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
2. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
3. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code)
4.ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านภูมินิเวศวัฒนธรรมและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวบ้านเพียงพอ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,800 1 7,200
ค่าอาหาร 20 คน 50 1 1,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 1 14,400
ค่าที่พักตามจริง 1 ครั้ง 6,000 1 6,000
ค่าเช่ารถ 4 ครั้ง 6,000 1 24,000
อื่น ๆ

ค่าทำตลาดดิจิทัลและฐานข้อมูลชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว

1 ครั้ง 85,600 1 85,600
รวมค่าใช้จ่าย 138,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 157,400.00 8,000.00 215,000.00 119,600.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 31.48% 1.60% 43.00% 23.92% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว จำนวน 2-5 รูปแบบ
2. การสร้างมัคคุเทศก์น้อยหรือมัคคุเทก์ชุมชน อย่างน้อย 15 คน
3. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
4. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
5. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code)
6. ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน
7. มีคณะกรรมการในการบริหารจัดการอย่างเป็นรูปธรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วม อย่างน้อย 1 กลุ่ม
8. ได้องค์ความรู้และภูมิปัญญาที่สามารถสร้างความเข้มแข็งและต่อยอดของชุมชน สังคม ประเทศ
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ โดยมุ่งเน้นให้บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์สามารถออกแบบระบบงาน มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่
หลากหลายวัฒนธรรมและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ
2. บัณฑิตมีการนำองค์ความรู้มาการบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ
เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านความยากจนความเหลื่อมลํ้า และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยใช้การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
3. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ “นวัตกรรมสังคม” ที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5%
5.กลุ่มการท่องเที่ยวชุมชนได้มีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้นจากการการให้บริการการท่องเที่ยวชุมชน
6. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
7. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยว ที่มีการใช้เพื่อการบริหารชุมชนอย่างน้อย 3 เรื่องที่จะพัฒนาชุนชน
หมู่บ้านใกล้เคียง หรืออำเภอ
8. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้
9. สร้างศักยภาพของชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรม ให้การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อลดค่าใช้จ่ายของต้นทุนการท่องเที่ยว และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ๆจากการใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย 2-5 รูปแบบหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรม
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ โดยมุ่งเน้นให้บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์สามารถออกแบบระบบงาน มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่
หลากหลายวัฒนธรรมและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ
2. บัณฑิตมีการนำองค์ความรู้มาการบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ
เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านความยากจนความเหลื่อมลํ้า และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยใช้การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
3. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ “นวัตกรรมสังคม” ที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
ผลกระทบ (Impact) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5%
6. ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
7. สร้างความเข้มแข็งทางความมั่นคงทางสังคม ชุม ชน ประเทศชาติ
8. การมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมขน
9. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
2. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยว ที่มีการใช้เพื่อการบริหารชุมชนอย่างน้อย 3 เรื่องที่จะพัฒนาชุนชนหมู่บ้านใกล้เคียง หรืออำเภอ
10. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้
11. สร้างศักยภาพของชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรม ให้การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อลดค่าใช้จ่ายของต้นทุนการท่องเที่ยว และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ๆจากการใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย 2-5 รูปแบบหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวภูมินิเวศวัฒนธรรม
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ โดยมุ่งเน้นให้บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์สามารถออกแบบระบบงาน มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่
หลากหลายวัฒนธรรมและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ
2. บัณฑิตมีการนำองค์ความรู้มาการบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ
เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านความยากจนความเหลื่อมลํ้า และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยใช้การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
3. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ “นวัตกรรมสังคม” ที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
นำเข้าสู่ระบบโดย tok2029 tok2029 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 20:33 น.