หัวง้มเมืองฟายน์ (Hua Ngom Muang Fine): โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านชุมชนแบบมีส่วนร่วมบ้านดงเจริญ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

แบบเสนอโครงการ
หัวง้มเมืองฟายน์ (Hua Ngom Muang Fine): โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านชุมชนแบบมีส่วนร่วมบ้านดงเจริญ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

1. ชื่อโครงการ

หัวง้มเมืองฟายน์ (Hua Ngom Muang Fine): โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านชุมชนแบบมีส่วนร่วมบ้านดงเจริญ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงรายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงรายบ้านดงเจริญ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงรายดร. ณัฐรกานต์ คำใจวุฒิ99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120โทร. 081-3665571 , 053-723-971 ต่อ 5100 E-mail : nuttarakan@hotmail.comผู้รับผิดชอบโครงการร่วม
1. อาจารย์อนิรุทธ์ สงค์ธนาพิทักษ์
อาจารย์ประจำหลักสูตรการท่องเที่ยว สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. อีเมลล์
2. อาจารย์ภีราวิชญ์ ชัยมาลา
อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. อีเมลล์
3. อาจารย์ถาวร อินทโร
อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาฟิสิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. 085-0362183 อีเมลล์
4. ดร. ปภาวดี เนตรสุวรรณ
อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาเคมี สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. 081-5305099 อีเมลล์
5. ดร.ณิชพัณณ์ปิตินิยมโรจน์
อาจารย์ประจำหลักสูตรการจัดการ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. อีเมลล์
6. ดร.กิ่งกาญจน์ปวนสุรินทร์
อาจารย์ประจำหลักสูตรระบบสาระสนเทศ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. อีเมลล์
7. ดร. ชไมพร รัตนเจริญชัย
อาจารย์ประจำหลักสูตรการบัญชี สาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. 0810216656 อีเมลล์
8. ดร.พันทิพา ปัญสุวรรณ
อาจารย์ประจำหลักสูตรการตลาด สาขาการบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร. อีเมลล์
9. อาจารย์อวยพร ต๊ะวัน
อาจารย์ประจำหลักสูตรการตลาด สาขาการบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่ 99 ม. 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120
โทร. /โทรสาร.อีเมลล์
10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เมตไตรพันธ์
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่99 ม.10 ถ.พหลโยธิน ต.ทรายขาวอ.พาน จ.เชียงราย
โทร.: 0-5372-3979 ต่อ 4300 โทรสาร: 0-5372-3977-8
อีเมลล์ mettripun_n@hotmail.com
11. อาจารย์ณัฐพล อุ่นยัง
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่99 ม.10 ถ.พหลโยธิน ต.ทรายขาวอ.พาน จ.เชียงราย
โทร. 0-5372-3979 ต่อ 4300 โทรสาร: 0-5372-3977-8
อีเมลล์ oown_natthpon@hotmail.com
12. อาจารย์สมควร สงวนแพง
อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ที่อยู่99 ม.10 ถ.พหลโยธิน ต.ทรายขาวอ.พาน จ.เชียงราย
โทร. /โทรสาร.อีเมลล์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงราย พาน หัวง้ม

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลหัวง้มเป็นตำบลเก่าแก่ของอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ก่อตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2458 โดยพระยาใจ เชื้อเมืองพาน เป็นผู้ตั้งชื่อตำบลจากการใช้ชื่อดอยหัวง้ม หรือดอยด้วน ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตั้งชื่อตำบล มีพื้นที่ 61.2 ตารางกิโลเมตรสภาพทั่วไปของตำบลมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชาชนส่วนประกอบอาชีพทางการเกษตร มีอาณาเขตทิศเหนือ ติดกับ ต.สันติสุข และ ต.ดอยงาม อ.พาน จ.เชียงราย ทิศใต้ ติดกับ ต.ม่วงคำ และ ต.ทานตะวัน อ.พาน จ.เชียงราย ทิศตะวันออก ติดกับ ต.เวียงห้าว อ.พาน จ.เชียงราย และทิศตะวันตก ติดกับ ต.เมืองพาน อ.พาน จ.เชียงราย เขตการปกครองแบ่งออกเป็น 13 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านป่างิ้ว หมู่ที่ 2 บ้านป่าคา หมู่ที่ 3 บ้านบวกปลาค้าว หมู่ที่ 4 บ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 5 บ้านสันปลาดุก หมู่ที่ 6 บ้านป่าแดง หมู่ที่ 7 บ้านสันหลวง หมู่ที่ 8 บ้านบวกขอน หมู่ที่ 9 บ้านดงเจริญ หมู่ที่ 10 บ้านกู่สูง หมู่ที่ 11 บ้านห้วยตุ้ม หมู่ที่ 12 บ้านป่าข่า และหมู่ที่ 13 บ้านป่าส้าน ตำบลหัวง้มมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 1,885 ครัวเรือน 5,914 คน ชาย 2,924 คน หญิง 2,990 คน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวนและการเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะพื้นที่บ้านดงเจริญ หมู่ 9 ตำบลหัวง้ม มีการประกอบอาชีพเลี้ยงควายจำนวนกว่า 500 ตัว ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับคนในชุมชนและนอกชุมชนโดยไม่มีการนำส่งโรงฆ่าสัตว์ ซึ่งตำบลหัวง้มเป็นชุมชนที่มีวิถีชีวิตผูกพันกับวัฒนธรรม ความเชื่อ และจารีตประเพณีที่ดีงามภายในชุมชน ภายใต้เสน่ห์ทางวัฒนธรรม 8 อย่าง อันได้แก่ อาหารพื้นบ้าน การแต่งกายชุดล้านนา บ้านเรือนเป็นไม้ยกพื้นสูง ประเพณีและภาษาพื้นบ้านล้านนาไทย การประกอบอาชีพเกษตรกรรม ความเชื่อเรื่องเสื้อบ้านและอ้อพญา และศิลปวัฒนธรรมการจัดพิธีสู่ขวัญควาย (ฮ้องขวัญควาย)โดยองค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มได้นำหลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนา คุณธรรม ศีลธรรม เข้ามาจัดระบบการเรียนรู้ และถ่ายทอดแก่คนรุ่นหลังในชุมชน มีการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนา โดยใช้แนวคิด “คุณธรรมนำการพัฒนา” เพื่อสร้างสังคมคุณธรรม และมุ่งพัฒนา “คน” ให้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามัคคีและเอื้ออาทรบนพื้นฐานแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เครื่องมือที่ใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนาต่าง ๆ คือ ธนาคารความดี ซึ่งเป็นกลไกหลักสำคัญเพื่อปลูกจิตสำนึกในใจของทุกคนที่มีส่วนร่วมในโครงการที่ได้รับการบูรณาการแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนภายในตำบลหัวง้ม และมีการขยายธนาคารความดีไปสู่งานพัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างครอบคลุม เช่น การศึกษา การสาธารณสุข เป็นต้น องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มมีนโยบายในการพัฒนาคนให้เป็นทั้งคนเก่ง คนดี และมีความสุข บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาจะครอบคุลมคนในทุกเพศ ทุกวัย และให้ความสำคัญกับศักยภาพของคน โดยใช้นวัตกรรมสานสัมพันธ์คน 3 วัย คือ ผู้สูงอายุ วัยหนุ่มสาวและวัยเด็ก ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลหัวง้ม เพื่อมุ่งพัฒนาคนวัยผู้สูงอายุ โครงการเยาวชนคนดี เยาวชนคนดี ร้อยดวงใจ สานสายใยด้วยธนาคารความดี เพื่อมุ่งพัฒนาเด็กในวัยเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม เพื่อมุ่งพัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนบ้านดงเจริญหมู่ที่ 9 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ได้รับการพัฒนาให้เป็นชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่มุ่งเน้นการสร้างอัตลักษณ์ สร้างความโดดเด่นของชุมชน ผนวกเข้ากับสินค้าของชุมชน สินค้า OTOP ที่มีการพัฒนา ซึ่งผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่มีความโดดเด่น นำมาต่อยอดกับหมู่บ้านท่องเที่ยว เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมให้สอดคล้องกับท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต แหล่งท่องเที่ยวและบริการโดยยึดกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในหมู่บ้าน เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน เสริมสร้างอาชีพและรายได้ จากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การผลิตสินค้าชุมชน การให้บริการด้านการท่องเที่ยวชุมชน รวมทั้งเชื่อมโยงการร่วมกันระหว่างชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เพื่อสร้างเส้นทางท่องเที่ยว เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้ โดยมีศูนย์การเรียนรู้จำนวน 5 ฐาน จุดแรก การแปรรูปอาหารพื้นถิ่น จุดที่สอง กลุ่มจักรสานบ้านดงเจริญ จุดที่สามการทำของที่ระลึก จากไม้แปรรูป จุดที่สี่ ศูนย์การเรียนรู้ ปางควาย จุดที่ห้า แหล่งเรียนรู้โบราณสถานบ้านดงเจริญ “ควาย” ถือได้ว่าเป็นสัตว์ที่อยู่คู่วิถีชีวิตของบ้านเรามาช้านาน โดยเฉพาะชาวนาไทยจะใช้แรงงานในการลากจูงหรือไถนา แต่ปัจจุบันจำนวนควายลดลง และมีบทบาทน้อยเมื่อเทียบกับ
สมัยก่อน จึงมีการอนุรักษ์ควายไทยไว้เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เห็นและได้สัมผัส และมีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ “กลุ่มธนาคารโค-กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ (บ้านดงเจริญ)”
1. ปัญหาการขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการพัฒนาชุมชน แก้ไขโดยการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม 2. ปัญหาการเพิ่มจำนวนประชากรผู้สูงอายุ แก้ปัญหาโดยกิจกรรมการส่งเสริมศักยภาพของกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนภายใต้โครงการธนาคารความดีและโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลหัวง้ม 3. ปัญหาเศรษฐกิจชุมชน แก้ไขโดยการน้อมนำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโครงการพระราชดำริมาเป็นแนวทางการดำรงชีวิต และ4. ปัญหาสุขภาพของประชาชน ที่แก้ไขโดยการส่งเสริมการออกกำลังกาย การบริภาคอาหารปลอดภัยและการดูแลรักษาสุขภาพด้วยการดูแลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้มประชาชนในตำบลจากทุกหมู่บ้านยังคงมีความต้องการพื้นฐานหลักร่วมกันในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจด้านการส่งเสริมกลุ่มอาชีพในชุมชน โดยการฝึกอบรมอาชีพ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมย่อยปีที่ 1 การจัดทำฐานข้อมูล ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพในชุมชนบนพื้นฐานทุน ทรัพยากรและวัฒนธรรมของชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อยปีที่ 1 การจัดทำฐานข้อมูล ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพในชุมชนบนพื้นฐานทุน ทรัพยากรและวัฒนธรรมของชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    8.1.1 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลและการจัดการองค์ความรู้ของชุมชนบนพื้นฐานทุน ทรัพยากรและวัฒนธรรมในชุมชนด้วยระบบเทคโนโลยี
    8.1.2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กลุ่มอาชีพในชุมชน
    • การอบรมการแปรรูปอาหารจากผลผลิตในชุมชนให้กลุ่มอาชีพการทำน้ำพริกและกลุ่มเลี้ยงปลานิล
    • การอบรมเพิ่มและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กลุ่มจักรสาน และการทำของที่ระลึกที่สื่อเป็นสัญลักษณ์ของชุมชน
    • การอบรมส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์ และปลูกผักสวนครัวและพืชท้องถิ่นด้วยเกษตรอินทรีย์และพัฒนาการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตรให้กลุ่มเกษตรอินทรีย์
    8.1.3 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือนให้กลุ่มอาชีพในชุมชน
    8.1.4 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในชุมชน
    8.1.5 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารให้กลุ่มอาชีพในชุมชนและผู้ประกอบการโฮมสเตย์
    8.1.6 กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์ในชุมชน
    8.1.7 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเพจและสื่อออนไลน์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านดงเจริญ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เชิงปริมาณ
    1. มีการประชุมร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่าย จำนวน 2 ครั้ง
    2. มีระบบฐานข้อมูลองค์ความรู้ของชุมชน จำนวน 1 ฐานข้อมูล
    3. มีการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 9 กิจกรรม ๆ ละ 2 วัน
    4. มีตราสินค้าหรือแบบบรรจุภัณฑ์ จำนวน 8 ผลิตภัณฑ์
    - เชิงคุณภาพ
    คนในชุมชนได้รับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพในชุมชน
    - เชิงเวลา
    โครงการแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ 2563
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 300 12 7,200
    อื่น ๆ

    - ค่าจ้างเหมาลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ของชุมชน 3 วัน 4 คน (300 บาท*4 คน* 6 ชม.* 3 วัน)

    4 คน 300 18 21,600
    อื่น ๆ

    - ค่าจ้างเหมาจัดทำฐานข้อมูลด้วยระบบเทคโนโลยี

    1 ครั้ง 5,000 1 5,000
    ค่าถ่ายเอกสาร 6 ชุด 200 1 1,200
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 5 ครั้ง 600 1 3,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    รวมค่าใช้จ่าย 39,000

    กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กลุ่มอาชีพในชุมชน

    ชื่อกิจกรรม
    2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กลุ่มอาชีพในชุมชน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กลุ่มอาชีพในชุมชน
      1.ค่าตอบแทน
      - ค่าตอบแทนวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ 3 กิจกรรมๆละ 2 วัน (300 บาท*6 คน* 6 ชม.* 2 วัน)
      21,600 บาท
      21,600 บาท
      2.ค่าใช้สอย
      - ค่าอาหารกลางวัน (100 บาท*30 คน*6 มื้อ)
      - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาท*30 คน*12 มื้อ)
      - ค่าจ้างเหมาจัดหาอุปกรณ์และวัตถุดิบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (5,000 บาท*3 กิจกรรม)
      - ค่าจ้างเหมารถร่วมกิจกรรม (1,800 x 2 คัน x 6 วัน)
      - ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 3 กิจกรรม (ไวนิล,วีดีโอ)
      - ค่าจ้างเหมาชุดของที่ระลึก 70,200 บาท
      18,000 บาท
      12,600 บาท
      15,000 บาท
      21,600 บาท
      3,000 บาท
      1,500 บาท
      3.ค่าวัสดุ
      - ป้ายโครงการและกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ((1 ม.* 2.5 ม.* 120บาท) * 3 ป้าย)
      - ค่าเอกสารโครงการและสรุปเล่มโครงการ (6 เล่ม * 200 บาท)
      - ค่าวัสดุประกอบการฝึกอบรม เช่น กระดาษ ปากกาเคมี หมึกพิมพ์ (2,000 บาท*3 กิจกรรม)
      - น้ำมันเชื้อเพลิงรถประสานงาน ติดตามและประเมินผล 3 ครั้ง
      จำนวนเงินรวมกิจกรรมย่อยที่ 2 11,100 บาท
      900 บาท
      1,200 บาท
      6,000 บาท
      3,000 บาท
      102,900 บาท
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือนให้กลุ่มอาชีพในชุมชน

      ชื่อกิจกรรม
      3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือนให้กลุ่มอาชีพในชุมชน
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 4 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในชุมชน

        ชื่อกิจกรรม
        4 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในชุมชน
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          กิจกรรมที่ 5 5. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารให้กลุ่มอาชีพในชุมชนและผู้ประกอบการโฮมสเตย์

          ชื่อกิจกรรม
          5. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารให้กลุ่มอาชีพในชุมชนและผู้ประกอบการโฮมสเตย์
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            รวมค่าใช้จ่าย 0

            กิจกรรมที่ 6 6. กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์ในชุมชน

            ชื่อกิจกรรม
            6. กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์ในชุมชน
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              กิจกรรมที่ 7 7. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเพจและสื่อออนไลน์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านดงเจริญ

              ชื่อกิจกรรม
              7. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเพจและสื่อออนไลน์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านดงเจริญ
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                รวมค่าใช้จ่าย 0

                รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 306,200.00 บาท

                ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
                ค่าใช้จ่าย (บาท) 7,200.00 4,200.00 1,000.00 26,600.00 39,000.00
                เปอร์เซ็นต์ (%) 18.46% 10.77% 2.56% 68.21% 100.00%

                11. งบประมาณ

                306,200.00บาท

                12. การติดตามประเมินผล

                ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                ผลผลิต (Output) กลุ่มอาชีพในชุมชนและผู้ประกอบการโฮมสเตย์สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ในระดับหนึ่ง นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
                ผลลัพธ์ (Outcome) กลุ่มอาชีพในชุมชนและผู้ประกอบการโฮมสเตย์สามารถสื่อสาร ช่วยเหลือและให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้ การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
                ผลกระทบ (Impact) บ้านดงเจริญ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงรายสามารถเป็นเมืองท่องเที่ยวโดยชุมชนเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากกลุ่มอาชีพในชุมชน การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
                นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 20:00 น.