แนวทางการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้วยทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นกรณีศึกษา การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก สำหรับตลาดสีเขียว สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เฮือนฝ้ายบาติก จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
แนวทางการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้วยทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นกรณีศึกษา การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก สำหรับตลาดสีเขียว สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เฮือนฝ้ายบาติก จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

แนวทางการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้วยทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นกรณีศึกษา การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก สำหรับตลาดสีเขียว สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เฮือนฝ้ายบาติก จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เฮือนฝ้ายบาติก หมู่ 7 บ้านหัวหนอง ต.เหล่ากลาง อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์ 46130นายธรรมนูญ พัดมะนาสาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80 ถนนนครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000โทร. 043-722118-9, 081-7294818ที่ปรึกษาร่วมโครงงาน
1. อาจารย์ สรัญญา ภักดีสุวรรณ
สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2. ผศ. พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์
สาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่น คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3. อาจารย์ พิชญ์นันท์รักษาวงศ์
สาขาการผลิต คณะวิศวะกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
4. อาจารย์ ธนายุทธ ไชยธงรัตน์
อาจารย์ประจำสำนักสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

นักศึกษาผู้ดำเนินโครงงาน
1. นางสาวคุณัญญา เชื้อคมตา 1471400070851 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2. นางสาวสุวิมลพรสีชา 1449900502889 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3.นางสาวนฤมล ภูโคก 1101100212610 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
4. นางสาวธิดาพรทิพย์มาตร 1440500176072 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
5. นายกฤษณรักษ์ บุตตะนันท์1470900120619 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
6. นายพชร มิสาธรรม1419901741941 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
7. นางสาวเบญธิตา ก้อนคำ 1349700238348 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
8. นางสาวชนิกานต์ เติมสุข 1320300231780 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
9. นางสาวญาดา พรหมสาลี 1339900631582 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
10. นายธีระภัทร ศรีอ่อน 1460300218715 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
11. นางสาวพลอย พิมพ์ศักดิ์ 1401700199565 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
12. นางสาวจิดาภา งามสะพรั่ง 1319900695467 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
13.นางสาวณัฐฐาพร หงษ์อนันต์ 1103702816876 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
14.นายณัฐวุฒิ แสงบุญมี 1140600189098 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
15.นางสาวปภัสสร งามสง่า 1349900988430 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
16. นางสาวปรีญานันท์ แถวเพณี 1430201346961 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
17. นางสาวปรียาภัสสร์ รำไธสง 1301502033343 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
18. นางสาวรัตน์สุดา คาดสนิท 1369900510122 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
19. นางสาววรรณนิสา กองแก้ว 1679800261772 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
20. นางสาววารุณี โคตรบุญครอง 1469900457662 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
21. นางสาวศรีสุดา นามเวช 1329900972193 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
22. นางสาวศศิประภา ดีศรี 1409902949104 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
23. นางสาวศศิพิมพ์ แสงแก้ว 1101801062827 สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ฆ้องชัย

3. รายละเอียดชุมชน

สภาพทั่วไปของตำบลเหล่ากลาง อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์
1. พื้นที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 26 กิโลเมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปตำบลเหล่ากลาง มีเขตติดต่อพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้เคียงดังต่อไปนี้
1.1 ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตเทศบาลตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
1.2 ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขต เทศบาลฆ้องชัยพัฒนา อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์
1.3 ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
1.4 ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำชี อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์
2. พื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่ากลาง มีพื้นที่โดยประมาณ 26 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 15,625 ไร่
3. สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่ากลาง มีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงและที่ราบลุ่ม แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน โดยพื้นที่บางส่วนมีสภาพเป็นที่ราบสูง นาดอน และบางส่วนเป็นที่ราบลุ่มอ่างกระทะ ตำบลเหล่ากลาง มี 3 ฤดูกาล คือ
3.1 ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศค่อนข้างร้อน
3.2 ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม มีฝนตกชุกเป็นบางช่วง
3.3 ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวมาก
4. จำนวนหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านตูม, หมู่ที่ 2 บ้านตูม, หมู่ที่ 3 บ้านคุยโพธิ์, หมู่ที่ 4 บ้านหัวนาคำ, หมู่ที่ 5 บ้านหัวโนนเปลือย, หมู่ที่ 6 บ้านกระเดา, หมู่ที่ 7 บ้านหัวหนอง, หมู่ที่ 8 บ้านโนนทัน
5. จำนวนประชากร ตำบลเหล่ากลาง มีจำนวนครัวเรือน 1,286 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 4,570 คน แยกเป็นชาย 2,303 คน หญิง 2,267 คน
มีความหนาแน่นเฉลี่ยจำนวน 197.28 คน/ตารางกิโลเมตร จำนวนประชากรจำแนกตามหมู่บ้าน จำนวนประชากรในพื้นที่หมู่ที่ 7 หมู่บ้าน หัวหนอง ชาย 320 คน, หญิง 320 คน, รวม 640 คน, จำนวนครัวเรือน 175 ครัวเรือน (ที่มา : สำนักงานทะเบียนอำเภอฆ้องชัย, ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556)
กลุ่มเฮือนฝ้าย บาติก เกิดจากประธานกลุ่ม คุณกฤษฎา ภูพลผัน มีทักษะและประสบการณ์ การทำงานสร้างสรรค์ลวดลายผ้าบาติก จากจังหวัดภูเก็ต จนเกิดความเชี่ยวชาญ แล้วได้กลับมาจัดตั้งกลุ่มอาชีพที่บ้านเกิด จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมคนในชุมชน ส่วนใหญ่ในพื้นที่ ยึดอาชีพทำนา มาหลายชั่วอายุคน ซึ่งการทำนา ต้องอาศัยทำในช่วงฤดูกาลที่เหมาะสม ดังนั้น ประธานกลุ่มเฮือนฝ้ายบาติก จึงมองเห็นช่วงเวลาที่คนในชุมชน ไม่ได้ทำนา และไม่สามารถมีรายได้จากช่องทางอื่น จึงตั้งกลุ่มอาชีพขึ้น ใน พ.ศ. 2560 เพื่อให้คนในชุมชน มีรายได้เสริม จากช่วงเวลาที่ว่างจากการทำนา อีกทั้งตัวเองสามารถทำงานและดูแลครอบครัวได้ โดยไม่ต้องพลัดถิ่นฐาน ไปทำงานห่างไกลบ้านเกิด
นอกจากนี้ ในพื้นที่ยังมี ทุนทางวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมทวารวดี อีสาน ที่ปรากฏอยู่ในดินแดนไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12 – 16 ถ้าเป็น พ.ศ. 1,100–1,700 ซึ่งมีหลักฐานมากมาย ที่แสดงให้เห็นว่า จังหวัดกาฬสินธุ์ มีความโดดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ ที่แสดงถึงวัฒนธรรมทวารวดี อีสาน ได้อย่างชัดเจน เช่น รูปร่างของเมืองแบบทวารวดี อีสานและใบเสมาหรือหินตั้ง ที่เมืองฟ้าแดดสงยาง, พระธาตุยาคู ที่ตัวพระธาตุที่อยู่ข้างบนเป็นองค์จำลอง ฐานล่างจึงจะเป็นสมัยทวารวดี เป็นต้น ทั้งนี้รวมถึงภูมิปัญญา ต่างๆ ที่มีในพื้นที่ ที่สามารถนำมาสร้างแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่า ให้แก่ผลิตภัณฑ์เกิดความแตกต่าง และเป็นที่ต้องการของกลุ่มเป้าหมายต่อไป
ความหลากหลายทางพืชพรรณในพื้นที่ ก็มีมากเพราะมีทั้งภูเขา พื้นที่ราบและแม่น้ำ พื้นที่ป่าในจังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วนใหญ่เป็นป่าเต็งรัง เป็นป่าค่อนข้างโล่ง ต้นไม้ขึ้นห่างๆ ได้ระยะ ส่วนมากต้นไม้ในป่าชนิดนี้จะมีความสูงแยกออกได้เป็นสองชั้น คือชั้นบนสูงประมาณ 10-20 เมตร ชั้นล่างสูงราวๆ 7 เมตร ไม้ที่สำคัญในป่าชนิดนี้ได้แก่ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้รกฟ้า ไม้เหียง ไม้พลวง เป็นต้น จากความหลากหลายที่กล่าวมา เป็นเหตุสนับสนุน ให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม โดยการใช้วัตถุดิบ นำมาสกัดสีจากธรรมชาติ ที่มีในพื้นที่เพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้แก่ผลิตภัณฑ์ และการนำวัตถุดิบจากธรรมชาติมาใช้อย่างถูกวิธี ยังเป็นการดูแลทรัพยากรชาติ สิ่งแวดล้อมที่มีในชุมชน ให้เกิดความยั่งยืนเพื่อการพึ่งพาอาศัยกัน ระหว่างชุมชน และสิ่งแวดล้อมในชุมชน
จากการสังเกตการณ์และสอบถามทำให้ทราบว่า ทางกลุ่ม มีประเด็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข ดังนี้
1.เนื่องจากการทำผ้าบาติกในประเทศไทย ทำที่ภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้หาแรงงานที่มีทักษะการทำผ้าบาติกในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ยาก เมื่อมีคำสั่งซื้อ จึงไม่สามารถผลิตได้ทันตามความต้องการของลูกค้า
2. ลวดลายผ้าบาติกที่ทางกลุ่มทำอยู่ เป็นลวดลายตามคำสั่งของลูกค้ายังไม่มีลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทำให้ขาดจุดขาย จึงไม่เป็นที่จดจำของลูกค้า
จากการสอบถามทำให้ทราบว่า ทางกลุ่ม มีความต้องการดังนี้
1.ต้องการมีตลาดรองรับที่ชัดเจน
2.ต้องการผลิตผ้าบาติกให้เร็วขึ้น
3.ต้องการลวดลายผ้าบาติกที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
4.ต้องการเพิ่มมูลค่าผ้าบาติก
5.ต้องการเป็นที่รู้จักมากขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มตลาดสีเขียว

ข้อมูลความต้องการด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนของ ผู้บริโภคกลุ่มตลาดสีเขียว 1 ชุด(จากการสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง 100 คน )

100.00 1.00
2 เพื่อออกแบบเอกลักษณ์ลวดลายผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ

จำนวน ลวดลายผ้าบาติกรูปแบบใหม่ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้งเนื้อหาและรูปแบบ  5 รูปแบบ

5.00 1.00
3 เพื่อออกแบบ แม่พิมพ์ลายผ้าบาติก แบบโมดูล่า (Modular)

จำนวนแม่พิมพ์ลายบาติก
แบบ โมดูล่า ที่มีคุณภาพ สามารถใช้ได้จริง  5 แบบ

5.00 1.00
4 เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ตามความต้องการของตลาดสีเขียว

ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ที่ตรงตามความต้องการของตลาด 10 รูปแบบ

10.00 1.00
5 เพื่อจัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ

นิทรรศการ ที่สามารถโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ได้ในระดับ ดี  จำนวน  1 ครั้ง

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 23
สมาชิกกลุ่มผู้ประกอบการ 15

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการวางแผนดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการวางแผนดำเนินการ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    วัตถุประสงค์
    เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการดำเนินโครงการ
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ประชุมทีมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
    2. วางแผนการดำเนินการกิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    3. ประสานผู้เกี่ยวข้อง
    4. ดำเนินการตั้งงบประมาณ เพื่อเตรียมเบิกจ่ายตามกิจกรรม
    5. เตรียมข้อมูลพื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    6 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต (Output)
    ได้ระบบกลไก และแผนการดำเนินโครงการอย่างเป็นลำดับชัดเจน
    จำนวน 1 แผนงาน
    ผลลัพท์ (Outcome)
    ได้แนวทางการดำเนินโครงการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    1. ทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ วัฒนธรรมทวารวดี, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
    2. วัตถุดิบธรรมชาติ ได้แก่ เปลือกไม้ ใบไม้ฯ จากพืชให้สี ที่มีในท้องถิ่น
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    1. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
    3. อบต.เหล่ากลาง
    4. ชุมชนบ้านหัวหนอง ต.เหล่ากลาง อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    1. ค่าวัสดุสำนักงาน (อุปกรณ์สานักงานสำหรับใช้ในการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล เช่น กระดาษ บรูฟ A0-A1/กระดาษร้อยปอนด์A0-A1/ กระดาษชานอ้อย/กระดาษลูกฟูก/ กระดาษเทาขาว/ ปากกาเคมีหัวม้า/ ปากกาเมจิก/ ปากกาลูกลื่น/ กระดาษโพสอิทขนาดใหญ่ ปูนพลาสเตอร์ คลิบหนีบกระดาษตัวใหญ่ /ตลับหมึกขาวดำ ตลับหมึกสี แผ่นดีวีดี ปากกาเขียนแผ่นดีวีดี กล่องใส่ดีวีดี เป็นต้น) เหมาจ่าย = 20,000 บาท

    1 คน 20,000 1 20,000
    รวมค่าใช้จ่าย 20,000

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการดำเนินโครงการ

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมการดำเนินโครงการ
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อศึกษาความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มตลาดสีเขียว
    2. เพื่อออกแบบเอกลักษณ์ลวดลายผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ
    3. เพื่อออกแบบ แม่พิมพ์ลายผ้าบาติก แบบโมดูล่า (Modular)
    4. เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ตามความต้องการของตลาดสีเขียว
    5. เพื่อจัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษาความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มตลาดสีเขียว โดยการบูรณาการ กับ กิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาการตลาดกับผู้บริโภค
    2. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบเอกลักษณ์ลวดลายผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ โดยการบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ, รายวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 โดย ดำเนินโครงการตามขั้นตอนการออกแบบสากล
    3. การร่วมปฏิบัติการ การออกแบบ แม่พิมพ์ลายผ้าบาติก แบบโมดูล่า (Modular) โดยทีมอาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ประกอบการ โดยบูรณาการกับรายวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ, รายวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ 1
    4. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ตามความต้องการของตลาดสีเขียวโดยการบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ, รายวิชาการตลาด, รายวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ตามขั้นตอนการออกแบบสากล
    5. การร่วมปฏิบัติการ การจัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ โดยการบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ, รายวิชาการตลาดและผู้บริโภค, รายวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ณ ห้างสรรพสินค้า จำนวน 1 ครั้ง รวม 5 วัน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    17 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต (Output)
    1. ข้อมูลความต้องการด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน ของผู้บริโภคกลุ่มตลาดสีเขียว 1 ชุด
    (จากการสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง 100 คน )
    2. จำนวน ลวดลายผ้าบาติกรูปแบบใหม่ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้งเนื้อหาและรูปแบบ 5 รูปแบบ
    3. จำนวนแม่พิมพ์ลายบาติกแบบ โมดูล่า ที่มีคุณภาพ สามารถใช้ได้จริง 5 แบบ
    4. ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ที่ตรงตามความต้องการของตลาด 10 รูปแบบ
    5. นิทรรศการ ที่สามารถโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ได้ในระดับ ดี จำนวน 1 ครั้ง
    ผลลัพท์ (Outcome)
    1. แนวทางการสร้างคูณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนจากทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    1. ทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ วัฒนธรรมทวารวดี, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
    2. วัตถุดิบธรรมชาติ ได้แก่ เปลือกไม้ ใบไม้ฯ จากพืชให้สี ที่มีในท้องถิ่น
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    1. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
    3. อบต.เหล่ากลาง
    4. ชุมชนบ้านหัวหนอง ต.เหล่ากลาง อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    1. ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน x 6 ชม. x 600 บาท x 16 วัน

    1 คน 3,600 16 57,600
    ค่าอาหาร

    2. ค่าอาหารกลางวัน 40 คน x 150 บาท x 17 มื้อ = 102,000 บาท

    40 คน 150 17 102,000
    ค่าอาหาร

    3. ค่าอาหารว่าง 40 คน x 25 บาท x 34 มื้อ = 34,000 บาท

    40 คน 25 34 34,000
    ค่าเช่าสถานที่

    4. ค่าสถานที่อบรม (ค่าน้ำ, ค่าไฟ) 14 วัน x 500 บาท = 7,000 บาท

    1 ครั้ง 500 14 7,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

    5. ค่าเดินทาง ผู้เข้าร่วมอบรม (เหมาจ่าย) 14 วัน x 3,000 บาท = 42,000 บาท

    1 ครั้ง 3,000 14 42,000
    ค่าเช่าสถานที่

    6. ค่าสถานที่จัดนิทรรศการ 5 วัน x 5,000 บาท = 25,000 บาท

    1 เที่ยว 5,000 5 25,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    7. ค่าวัสดุในการทำแม่พิมพ์ 5 แบบ x 2,500 บาท = 12,500 บาท

    1 ชิ้น 2,500 5 12,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    8. ค่าจัดทำต้นแบบลวดลายผ้าบาติก 5 แบบ x 3,000 บาท = 15,000 บาท

    1 ชิ้น 3,000 5 15,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    9. ค่าจัดทำต้นแบบผลิตภัณฑ์ 10 แบบ x 3,000 บาท = 30,000 บาท

    1 ชิ้น 3,000 10 30,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    10. ค่าผลิตต้นแบบสำหรับจัดนิทรรศการ จำนวน 10 ชิ้น x 3,000 บาท = 30,000 บาท

    1 ชิ้น 3,000 10 30,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    11. ค่าวัสดุการจัดอบรม (อุปกรณ์สานักงานสำหรับใช้ในการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล เช่น กระดาษ บรูฟ A0-A1/กระดาษร้อยปอนด์A0-A1/ กระดาษชานอ้อย/กระดาษลูกฟูก/ กระดาษเทาขาว/ ปากกาเคมีหัวม้า/ ปากกาเมจิก/ ปากกาลูกลื่น/ กระดาษโพสอิทขนาดใหญ่ ปูนพลาสเตอร์ คลิบหนีบกระดาษตัวใหญ่ /ตลับหมึกขาวดำ ตลับหมึกสี แผ่นดีวีดี ปากกาเขียนแผ่นดีวีดี กล่องใส่ดีวีดี เป็นต้น) เหมาจ่าย = 10,000 บาท

    1 ครั้ง 10,000 1 10,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    12. ค่าวัสดุการจัดนิทรรศการ (อุปกรณ์สานักงานสำหรับใช้ในการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล เช่น กระดาษ บรูฟ A0-A1/กระดาษร้อยปอนด์A0-A1/ กระดาษชานอ้อย/กระดาษลูกฟูก/ กระดาษเทาขาว/ ปากกาเคมีหัวม้า/ ปากกาเมจิก/ ปากกาลูกลื่น/ กระดาษโพสอิทขนาดใหญ่ ปูนพลาสเตอร์ คลิบหนีบกระดาษตัวใหญ่ /ตลับหมึกขาวดำ ตลับหมึกสี แผ่นดีวีดี ปากกาเขียนแผ่นดีวีดี กล่องใส่ดีวีดี เป็นต้น) เหมาจ่าย = 36,000 บาท

    1 ครั้ง 36,000 1 36,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    13. ค่าใช้จ่ายในวันเปิดนิทรรศการ เหมาจ่าย = 55,000 บาท

    1 ครั้ง 55,000 1 55,000
    รวมค่าใช้จ่าย 456,100

    กิจกรรมที่ 3 การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน

    ชื่อกิจกรรม
    การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      วัตถุประสงค์
      1. เพื่อติดตาม ประเมินผลการดำเนินโครงการ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. ทีมอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา และผู้ประกอบการ จัดเวทีเสวนา ประเด็นสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อประเมินผลร่วมกัน จากกิจกรรมที่จัดขึ้น
      2. ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกับคณะกรรมการ สป.อว.ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนชุมชนเพื่อ ประเมินผลตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 เมษายน 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต (Output)
      1. รายงานการดำเนินกิจกรรมโครงการ จากนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการโดยผ่านการพิจารณา ร่วมกันกับที่ปรึกษาและผู้ประกอบการ
      2. ผลการประเมินจากคณะกรรมการ สป.อว.ในการลงพื้นที่เยี่ยมเยียนชุมชน
      ผลลัพท์ (Outcome)
      1. แนวทางการดำเนินโครงการ เพื่อให้เกิดผลผลสัมฤทธิ์ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      1. ทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ วัฒนธรรมทวารวดี, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
      2. วัตถุดิบธรรมชาติ ได้แก่ เปลือกไม้ ใบไม้ฯ จากพืชให้สี ที่มีในท้องถิ่น
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      1. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
      3. อบต.เหล่ากลาง
      4. ชุมชนบ้านหัวหนอง ต.เหล่ากลาง อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าอาหาร

      1. ค่าอาหารกลางวัน 40 คน x 150 บาท x 1 มื้อ = 6,000 บาท

      40 คน 150 1 6,000
      ค่าอาหาร

      2. ค่าอาหารว่าง 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,000 บาท

      40 คน 25 2 2,000
      ค่าเช่าสถานที่

      3. ค่าสถานที่อบรม (ค่าน้ำ, ค่าไฟ) 1 วัน x 500 บาท = 500 บาท

      1 ครั้ง 500 1 500
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

      4. ค่าเดินทาง ผู้เข้าร่วมอบรม (เหมาจ่าย) 1 วัน x 3,000 บาท = 3,000 บาท

      1 ครั้ง 3,000 1 3,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน

      5. ค่าวัสดุการจัดอบรม (อุปกรณ์สานักงานสำหรับใช้ในการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล เช่น กระดาษ บรูฟ A0-A1/กระดาษร้อยปอนด์A0-A1/ กระดาษชานอ้อย/กระดาษลูกฟูก/ กระดาษเทาขาว/ ปากกาเคมีหัวม้า/ ปากกาเมจิก/ ปากกาลูกลื่น/ กระดาษโพสอิทขนาดใหญ่ ปูนพลาสเตอร์ คลิบหนีบกระดาษตัวใหญ่ /ตลับหมึกขาวดำ ตลับหมึกสี แผ่นดีวีดี ปากกาเขียนแผ่นดีวีดี กล่องใส่ดีวีดี เป็นต้น) เหมาจ่าย = 2,000 บาท

      1 ครั้ง 2,000 1 2,000
      รวมค่าใช้จ่าย 13,500

      กิจกรรมที่ 4 การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม

      ชื่อกิจกรรม
      การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        วัตถุประสงค์
        1. เพื่อปรับปรุง/ พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม
        รายละเอียดกิจกรรม
        1. จัดกิจกรรม ถอดบทเรียน จากกิจกรรมในโครงการ โดยทีมอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา และผู้ประกอบการ
        2. ประชุมปิดโครงการ โดยนำรายงานสรุปโครงการ มาปรับปรุงให้เป็นผลงานวิจัยที่สมบูรณ์
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มิถุนายน 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต (Output)
        1. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้วยทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น กรณีศึกษา การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก สำหรับตลาดสีเขียว สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เฮือนฝ้ายบาติก จังหวัดกาฬสินธุ์
        ผลลัพท์ (Outcome)
        1. แนวทางการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้วยทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        1. ทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ วัฒนธรรมทวารวดี, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
        2. วัตถุดิบธรรมชาติ ได้แก่ เปลือกไม้ ใบไม้ฯ จากพืชให้สี ที่มีในท้องถิ่น
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        1. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
        2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
        3. อบต.เหล่ากลาง
        4. ชุมชนบ้านหัวหนอง ต.เหล่ากลาง อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าถ่ายเอกสาร

        ค่าดำเนินการจ้างเหมาทำรูปเล่มวิจัย 10,000 บาท

        1 ชิ้น 10,000 1 10,000
        รวมค่าใช้จ่าย 10,000

        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 499,600.00 บาท

        ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
        ค่าใช้จ่าย (บาท) 57,600.00 231,500.00 210,500.00 499,600.00
        เปอร์เซ็นต์ (%) 11.53% 46.34% 42.13% 100.00%

        11. งบประมาณ

        499,600.00บาท

        12. การติดตามประเมินผล

        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
        ผลผลิต (Output) - ข้อมูลความต้องการด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนของ ผู้บริโภคกลุ่มตลาดสีเขียว 1 ชุด(จากการสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง 100 คน )
        - จำนวน ลวดลายผ้าบาติกรูปแบบใหม่ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้งเนื้อหาและรูปแบบ จำนวน5 รูปแบบ
        - แม่พิมพ์ลายบาติก แบบ โมดูล่า ที่มีคุณภาพ สามารถใช้ได้จริงจำนวน5 แบบ
        - ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ที่ตรงตามความต้องการของตลาด 10 รูปแบบ
        - นิทรรศการ ที่สามารถโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกย้อมสีธรรมชาติ ได้ในระดับ ดีจำนวน1 ครั้ง
        นักศึกษา มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ เรื่องการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก สำหรับตลาดสีเขียว
        ผลลัพธ์ (Outcome) แนวทางการสร้างคูณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรรมและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น มีทักษะวิชาชีพ สามารถ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ปัญาได้อย่างสร้างสรรค์
        ผลกระทบ (Impact) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
        คนในชุมชน มีแหล่งงาน ซึ่งเป็นแนวทางลดความยากจน

        ผลกระทบทางสังคม
        คนในชุมชน เห็นคุณค่าของ วัฒนธรรมและความหลายหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น ในเชิงสร้างสรรค์ ช่วยกันดูแลรักษาให้เป็นทุนของชุมชนสืบไป
        ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
        นักศึกษามีแนวทางสร้างรายได้เสริม

        ผลกระทบทางสังคม
        นักศึกษามีศักยภาพ และมีความพร้อมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
        นำเข้าสู่ระบบโดย Thamanoon_Patmana Thamanoon_Patmana เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 19:50 น.