โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชนแบบมีส่วนร่วม : บ้านห้วยหลวงพัฒนา ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชนแบบมีส่วนร่วม : บ้านห้วยหลวงพัฒนา ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชนแบบมีส่วนร่วม : บ้านห้วยหลวงพัฒนา ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปางบ้านห้วยหลวงพัฒนา ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดลำปางผู้ช่วยศาสตราจารย์พงศกร สุรินทร์ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ตำบล พิชัย อำเภอเมืองลำปาง ลำปาง 52000054-342547-8 ต่อ 123,215 / 054-342549 E-mail p.surin1980@yahoo.co.th

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง เมืองลำปาง บ้านเสด็จ

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านห้วยหลวงพัฒนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ตาบลเสด็จ อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง โดยแยกตัวออกมาจากบ้าน จาค่า หมู่ที่ 2 ตาบลเสด็จ อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ในอดีตบ้านจาค่าเป็นหมู่บ้านที่เป็นจุดพักรถ พักคนสาหรับพ่อค้าที่มาค้าขายจากจังหวัดพะเยาและเชียงราย ต่อมาจึงมีคนเริ่มมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ซึ่งเมื่อหมู่บ้าน มีการขยายตัวประชากรมีจานวนมากขึ้นจึงมีการแยกหมู่บ้านออกไปเป็นบ้านห้วยหลวงพัฒนา มีครัวเรือนทั้งสิ้น 50 ครัวเรือน ตามประกาศจังหวัดลาปาง เรื่องตั้งและกาหนดเขตหมู่บ้านและประกาศในราชกิจจานุเบกษาหน้า 29 เล่ม 123 ตอนพิเศษ 39ง เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2549 เป็นต้นมา
อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือติดต่อกับตาบลบ้านแลง ตาบลเสด็จ อาเภอเมือง ทิศใต้ติดต่อกับบ้านจาค่า ตาบลเสด็จ อาเภอเมือง ทิศตะวันตกติดต่อกับบ้านจาค่า ตำบลเสด็จ อำเภอเมือง ทิศตะวันออกติดต่อกับตาบลบ้านดง อาเภอแม่เมาะ มีพื้นที่ 800 ไร่ ลักษณะพื้นที่ทั่วไปส่วนใหญ่ประกอบด้วย กลุ่มชุดดินที่ 31 กลุ่มดินเหนียวลึกถึงลึกมากที่เกิดจากวัตถุต้นกาเนิดดินเนื้อละเอียด ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง การระบายน้าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง กลุ่มชุดดินที่ 47 กลุ่มดินตื้นถึงชั้นหินพื้น ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง มีการระบายน้าดี ความอุดมสมบูรณ์ต่า และกลุ่มชุดดินที่ 62 พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา สารวจและจาแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษาสาหรับการเกษตร (ที่มา: http://www.ldd.go.th/thaisoils_museum/62_soilgroup/sgr_hi-land/sgr_hiland.htm)
การบริหารจัดการแหล่งพื้นที่ในการผลิตข้าวของชุมชนต้นแบบแหล่งพื้นที่ในการผลิตข้าวของชุมชน ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การบริหารจัดการแหล่งพื้นที่ในการผลิตข้าวของชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

300,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output)
ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 15:43 น.