การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะ ตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะ ตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะ ตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงรายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงรายองค์การบริหารส่วนตำบลเมืองพาน จ.เชียงรายตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงรายดร.มงคลกร ศรีวิชัย99 ถนน พหลโยธิน ตำบล ทรายขาว อำเภอ พาน เชียงราย 57120081-3066166

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงราย พาน เมืองพาน

3. รายละเอียดชุมชน

องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองพาน เป็นอีกหนึ่ง อปท.ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาขยะมูลฝอยเนื่องจากไม่มีสถานที่จัดการในพื้นที่ของตนเอง จึงต้องต่อสู้กับปัญหาของขยะโดยใช้งบประมาณที่สูงมาก ซึ่งมีการร่วมมือกันทุกภาคส่วน มุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยอย่างจริงจัง การดำเนินการเพื่อพัฒนาพื้นที่ให้กลายเป็นพื้นที่ต้นแบบ อย่างเป็นรูปธรรมจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน ภายใต้กรอบแนวคิดที่ว่า “บนโลกนี้ไม่มีขยะเป็นเพียงทรัพยากรที่วางไว้ผิดที่เท่านั้น” และการดำเนินการจะใช้นวัตกรรมขยะวิทยา ซึ่งถูกพัฒนาและคิดค้นต่อยอดจากมหาวิทยาลัยลู่การใช้จริงในชุมชนและพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เพื่อก้าวไปสู่ SDGs.

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

6.1 การพัฒนานักจัดการขยะชุมชน
6.2 การพัฒนานักจัดการขยะเชิงพาณิชย์
6.3 การออกแบบระบบจัดเก็บขยะในชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างกลไกและนวัตกรรมการจัดการขยะระดับตำบลในพื้นที่

นักจัดการขยะชุมชนและนักจัดการขยะเชิงพาณิชย์

140.00 140.00
2 เพื่อสร้างพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะชุมชนที่มีความเข้มแข็ง

นวัตกรรมการจัดการขยะในชุมชนในรูปแบบที่เป็นรูปธรรม

1.00 1.00
3 เพื่อพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะสู่ SDGs

พื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะชุมชน

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนเข้าร่วมการอบรม 140
นักศึกษา 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนานักจัดการขยะชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนานักจัดการขยะชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างกลไกและนวัตกรรมการจัดการขยะระดับตำบลในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
2. จัดอบรมนักจัดการชุมชน
3. ทำสรุปประเมินผล
4. ประชุมสรุปผลวางแผนการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
มีการจัดการขยะทุกประเภทอย่างถูกระบบ/ปริมาณขยะที่ส่งให้อบต.เมืองพาน นำไปจัดการกำจัดปลางทางลดลง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 4 วัน

1 คน 12,000 1 12,000
อื่น ๆ

ค่าเหมาจ่ายประเมินกิจกรรม รุ่นละ 5,000 บาท 4 รุ่น

1 ครั้ง 5,000 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร คนละ 100 บาท จำนวน 60 คน 4 วัน

60 คน 100 4 24,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท 2 มื้อ จำนวน 60 คน 4 วัน

60 คน 50 4 12,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ไวนิล จำนวน 4 ชุด ชุดละ 1,500 บาท

4 ชุด 1,500 1 6,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เครื่องต้นแบบจานจากใบไม้

1 ชิ้น 20,000 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

อุปกรณ์สาธิต

1 ชิ้น 20,000 1 20,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสารประกอบอบรม ชุดละ 150 บาท 60 ชุด 4 วัน

60 ชุด 150 4 36,000
รวมค่าใช้จ่าย 150,000

กิจกรรมที่ 2 นักจัดการขยะเชิงพาณิชย์

ชื่อกิจกรรม
นักจัดการขยะเชิงพาณิชย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างกลไกและนวัตกรรมการจัดการขยะระดับตำบลในพื้นที่
  2. เพื่อสร้างพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะชุมชนที่มีความเข้มแข็ง
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
2. จัดอบรมนักจัดการขยะเชิงพาณิชย์
3. การทำสรุปประเมินผล
4. ประชุมสรุปผลวางแผนการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
มีนักจัดการขยะเชิงพาณิชย์เป็นตัวเสริมการจัดการขยะเชิงพื้นที่/ปริมาณขยะลดลงซึ่งถูกเปลี่ยนไปสู่ทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อสังคม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 วัน

1 คน 3,000 2 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 1 วัน

1 คน 1,500 1 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร คนละ 100 บาท จำนวน 26 คน 3 วัน

26 คน 100 3 7,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท 2 มื้อ จำนวน 26 คน 3 วัน

26 คน 50 3 3,900
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่ารถ 1,800บาท 3 คัน 3 วัน

3 เที่ยว 1,800 3 16,200
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักเหมาจ่าย 400 บาท 26 คน 2 คืน

26 คน 400 2 20,800
อื่น ๆ

น้ำมันเชื้อเพลิง 3000 กิโลเมตร 4 บาท

1 คน 12,000 1 12,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

อุปกรณ์สาธิต

1 ชุด 14,300 1 14,300
ค่าถ่ายเอกสาร

เอกสารประกอบอบรม 250 บาท 30 ชุด

30 ชุด 250 1 7,500
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

กิจกรรมที่ 3 การออกแบบระบบจัดเก็บขยะในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบระบบจัดเก็บขยะในชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างกลไกและนวัตกรรมการจัดการขยะระดับตำบลในพื้นที่
  2. เพื่อสร้างพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะชุมชนที่มีความเข้มแข็ง
  3. เพื่อพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะสู่ SDGs
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
2. ประชุมเชิงปฏิบัติการและประกวดการออกแบบระบบจัดเก็บขยะ
3. การทำสรุปประเมินผล
4. ประชุมสรุปผลวางแผนการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ถังขยะต้นแบบที่เหมาะสมสำหรับสถานที่และกิจกรรมต่างๆ/มีรูปแบบนวัตกรรมของถังขยะและรูปแบบการจัดเก้บขยะในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 วัน

1 คน 3,000 2 6,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนกรรมการตัดสิน 2,000 บาท 5 ท่าน

5 คน 2,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าเงินรางวัล

1 คน 10,000 1 10,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร คนละ 100 บาท จำนวน 30 คน 2 วัน

30 คน 100 2 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท 2 มื้อ จำนวน 30 คน 2 วัน

30 คน 50 2 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

อุปกรณ์สร้างถังขยะต้นแบบ

1 ชิ้น 15,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 50,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 35,500.00 6,000.00 147,200.00 69,300.00 42,000.00 300,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 11.83% 2.00% 49.07% 23.10% 14.00% 100.00%

11. งบประมาณ

300,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) นักจัดการขยะชุมชนและนักจัดการขยะเชิงพาณิชย์ นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
ผลลัพธ์ (Outcome) นวัตกรรมการจัดการขยะในชุมชนในรูปแบบที่เป็นรูปธรรม บูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
ผลกระทบ (Impact) พื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะชุมชน การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 14:31 น.