โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนด้วยผึ้งป่า บ้านแม่ขะจาน หมู่ 7 ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเขียงใหม่

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนด้วยผึ้งป่า บ้านแม่ขะจาน หมู่ 7 ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเขียงใหม่

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนด้วยผึ้งป่า บ้านแม่ขะจาน หมู่ 7 ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเขียงใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาบ้านแม่ขะจาน หมู่ 7 ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเขียงใหม่นายวิสุทธิ์ บัวเจริญ128 ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่E-mail: ootnajra@hotmail.com, โทรศัพท์ 062 02511942.1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 19 คน
1. ดร.กิจจา ไชยทนุ
2. รศ.ดร.อุเทน คำน่าน
3. รศ.ดร.โกศล โอฬารไพโรจน์
4. ผศ.นทีชัย ผัสดี
5. ผศ.ดร.วัชรินทร์ สิทธิเจริญ
6. ผศ.เกรียงไกร ธารพรศรี
7. ผศ.วรเชษฐ์ หวานเสียง
8. ผศ.สมหมาย สารมาท
9. อาจารย์ศรีธร อุปคำ
10. อาจารย์เฉลิม ยาวิลาศ
11.ดร.สามารถ ยะเชียงคำ
12.อาจารย์ณรงค์ นันทกุศล
13.ดร.สราวุธเชาวการกูล
14.อาจารย์ชัยภูมิ สีมา
15.นายครรชิต เงินคำคง
16.นางสาวมัทนา จุลเสวก
17.นางสาวอุไรวรรณ สายยะนันท์
18.นางสาวดวงฤทัย ไอราเขตต์
19.นางสาวจิราภรณ์ กันทะใจ

2.2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน1คน
1. อาจารย์ปรัชญา นามวงค์

2.3 คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ จำนวน4คน
1. ดร.ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ
2. อาจารย์สุดธิดา นิ่มนวล
3. อาจารย์มณีกาญจน์ไชยนนท์
4. อาจารย์ภัทรกร ออแก้ว

2.4 คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ จำนวน 8 คน
1. ผศ.กัลยารัตน์ เศวตนันทน์
2. ดร.สุภรพรรณ คนเฉียบ
3.อาจารย์ปณิสา กุระคาน
4. อาจารย์เฉลิมชัย พาราสุข
5. อาจารย์ศศิวิมล ชิน
6. อาจารย์สุดารักษ์ แก้วดวงแสง
7. อาจารย์เฉลิมพงศ์ ทำงาน
8. อาจารย์เดชาธร พจนพงษ์
2.5 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนจำนวน 5 คน
1.นายพิษณุ พรมพราย
2.นายจักร์รินทร์ ชื่นสมบัติ
3.นางสาวฉัตวณัฐ มโนพฤกษ์
4.นางสาวหนึ่งฤทัย แสงใส
5.นางสาววัลภา กันทะวงค์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ แม่แตง ขี้เหล็ก

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนคุ้ม 9 บ้านแม่ขะจาน หมู่ 7 ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเขียงใหม่ บ้านแม่ขะจาน อยู่ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลจอมแจ้ง ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และมีประชากรบางส่วนนับถือศาสนาคริสต์มีเนื้อที่ประมาณ 2,500 ไร่ แบ่งออกเป็นพื้นที่ที่อยู่อาศัย ประมาณ 1,000 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร ประมาณ 1,000 ไร่ พื้นที่สาธารณะ ประมาณ 200 ไร่ พื้นที่ป่าและเขตอุทยานแห่งชาติ ประมาณ 300 ไร่ จำนวนครัวเรือน 325 ครัวเรือน จำนวนประชากร 1,035 คน ซึ่งแยกเป็นเพศชาย 456 คน เพศหญิง 579 คน ข้อมูลทางเศรษฐกิจ อาชีพหลัก ทำนา ทำสวน ทำไร่ อาชีพรอง รับจ้าง
จากการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชุมชน คณะทำงานพบว่า สมาชิกในชุมชนมีความต้องการอนุรักษ์ป่าชุมชน โดยการเลี้ยงผึ้งป่า อาศัยผึ้งป่าเป็นตัวเชื่อมในการดำเนินกิจกรรม จากกระบวนการต้นทางชุมชนต้องหาอาหารให้ผึ้งป่า ซึ่งได้แก่ ต้นไม้ต่าง ๆ ในป่าชุมชน อาทิเช่น ผักหวานป่า ผักเฮือด ต้นไผ่ ต้นสะแล สมาชิกในชุมชนต้องช่วยกันปลูกเพิ่ม ช่วยกันดูแล ให้ปุ๋ยซึ่งเป็นปุ๋ยอินทรีย์ เนื่องจากหากเลี้ยงผึ้งป่า ต้องปราศจากการใช้สารเคมีในชุมชน กระบวนการระหว่างทาง ในการเลี้ยงผึ้ง ต้องมีอุปกรณ์การเลี้ยงผึ้ง เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการประดิษฐ์รังผึ้ง องค์ความรู้ในการเลี้ยงผึ้ง การบริหารจัดการกลุ่ม รวมถึงการไปศึกษาข้อมูลจากแหล่งความรู้อื่น เพื่อเป็นต้นแบบในการทำศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงผึ้งป่า กระบวนการปลายทาง การเก็บผลผลิต กรรมวิธีในการบีบ/รีด น้ำผึ้งป่า บรรจุภัณฑ์ การตลาด การสร้างเรื่องราวเพื่อเพิ่มมูลค่าให้น้ำผึ้งป่า ซึ่งคาดว่าผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงผึ้งป่าที่สามารถจำหน่ายได้ ได้แก่ รังผึ้งป่าหรือโก๋นผึ่งป่า ตัวอ่อนผึ้ง และน้ำผึ้ง คณะกรรมการดำเนินงานเห็นว่าในปีงบประมาณ 2563 จะพัฒนาสมาชิกในกลุ่มที่มีอยู่ให้มีความเข้มแข็งเพื่อขยายผลไปสู่สมาชิกในหมู่บ้านในปีต่อไป
ชุมชนคุ้ม 9 บ้านแม่ขะจาน หมู่ 7 ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเขียงใหม่ บ้านแม่ขะจาน อยู่ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลจอมแจ้ง ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และมีประชากรบางส่วนนับถือศาสนาคริสต์มีเนื้อที่ประมาณ 2,500 ไร่ แบ่งออกเป็นพื้นที่ที่อยู่อาศัย ประมาณ 1,000 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร ประมาณ 1,000 ไร่ พื้นที่สาธารณะ ประมาณ 200 ไร่ พื้นที่ป่าและเขตอุทยานแห่งชาติ ประมาณ 300 ไร่ จำนวนครัวเรือน 325 ครัวเรือน จำนวนประชากร 1,035 คน ซึ่งแยกเป็นเพศชาย 456 คน เพศหญิง 579 คน ข้อมูลทางเศรษฐกิจ อาชีพหลัก ทำนา ทำสวน ทำไร่ อาชีพรอง รับจ้างอาชีพหลัก ทำนา ทำสวน ทำไร่ อาชีพรอง รับจ้างมีรายได้ไม่แน่นอน สมาชิกในชุมชนต้องการเพิ่มรายได้จากอาชีพเสริมอาชีพหลักจากการเกษตร มีรายได้ไม่แน่นอน สมาชิกในชุมชนจึงต้องการเลี้ยงผึ้งป่าเป็นอาชีพเสริม เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้จากอาชีพเสริม และอนุรักษ์และพัฒนาป่าชุมชนด้วยไม้พื้นเมืองท้องถิ่นเพื่อให้เป็นอาหารของผึ้งป่า

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ด้านการเลี้ยงผึ้งป่า คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการบรรจุน้ำผึ้งป่า

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาป่าชุมชนด้วยการเพาะปลูกไม้พื้นเมืองท้องถิ่นให้เป็นอาหารของผึ้งป่า

เกิดป่าชุมชนทีมีไม้พื้นเมืองท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 20 ไร่ และสามารถจำหน่ายผลผลิตจากป่าชุมชนได้

20.00 1.00
2 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงผึ้งป่าให้แก่สมาชิกในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 50 (50 คน) มีรายได้จากการเลี้ยงผึ้งป่า รวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มเกิดศูนย์เรียนรู้ในการเลี้ยงผึ้งป่า

100.00 1.00
3 เพื่อสร้างรายได้เพิ่มจากการเลี้ยงผึ้งป่า

มีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผึ้งป่า 3 ชนิด ได้แก่ รังผึ้งป่าหรือโก๋นผึ่งป่า ตัวอ่อนผึ้ง และน้ำผึ้ง

50.00 2000.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงผึ้งป่า

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงผึ้งป่า
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงผึ้งป่าให้แก่สมาชิกในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรม
- ให้คำปรึกษากับชุมชน
- ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงผึ้งป่า
- การไปศึกษาข้อมูลจากผู้เลี้ยงผึ้งป่า
- แลกเปลี่ยนรู้ร่วมกับชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 50 (50 คน) สามารถเลี้ยงผึ้งป่าได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน 4 ครั้ง

1 คน 2,400 4 9,600
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,200 4 4,800
ค่าอาหาร 125 คน 130 4 65,000
ค่าถ่ายเอกสาร 125 คน 100 4 50,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 100 คน 800 1 80,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง 25 คน 200 4 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 229,400

กิจกรรมที่ 2 การอนุรักษ์และพัฒนาป่าชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การอนุรักษ์และพัฒนาป่าชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาป่าชุมชนด้วยการเพาะปลูกไม้พื้นเมืองท้องถิ่นให้เป็นอาหารของผึ้งป่า
รายละเอียดกิจกรรม
- ดำเนินกิจกรรมสาธิตการเพาะพันธุ์ไม้ชุมชน
- ร่วมกันปลูกป่าชุมชน
- ให้คำปรึกษากับชุมชน
- แลกเปลี่ยนรู้ร่วมกับชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กรกฎาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนพื้นที่ป่าชุมชน ประมาณ 20 ไร่
เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเพาะปลูกและดูแลไม้พื้นเมืองในเขตป่าชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
กรมป่าไม้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก

1 คน 9,600 1 9,600
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,200 1 1,200
ค่าอาหาร 125 คน 130 1 16,250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 2,000 ชิ้น 25 1 50,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง 25 คน 200 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 82,050

กิจกรรมที่ 3 การประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการบรรจุน้ำผึ้งป่า

ชื่อกิจกรรม
การประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการบรรจุน้ำผึ้งป่า
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ดำเนินกิจกรรมสร้างอัตลักษ์ให้น้ำผึ้งป่าบ้านแม่ขะจาน
    - ประกวดแนวคิดในการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในบีบ/รีด น้ำผึ้งป่า
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 สิงหาคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีการผลิตจำนวน 200 คน และนักศึกษาสาขาออกแบบรรจุภัณฑ์ 50 คน มีส่วนร่วมในการประกวดออกแบบประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในบีบ/รีด น้ำผึ้งป่า, ได้บรรจุภัณฑ์น้ำผึ้งป่าต้นแบบ
    สิ่งประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในบีบ/รีด น้ำผึ้งป่าที่สามารถผลิตได้จริงในปีต่อไป
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 2,400 1 4,800
    ค่าอาหาร 250 คน 130 1 32,500
    รางวัลเพื่อการยกย่อง 10 ชิ้น 2,000 1 20,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 2 ชุด 20,000 1 40,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 คน 1,000 1 1,000
    รวมค่าใช้จ่าย 98,300

    กิจกรรมที่ 4 การบริหารจัดการกลุ่มเลี้ยงผึ้งป่า

    ชื่อกิจกรรม
    การบริหารจัดการกลุ่มเลี้ยงผึ้งป่า
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อสร้างรายได้เพิ่มจากการเลี้ยงผึ้งป่า
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ดำเนินกิจกรรม เลือกกรรมการบริหารกลุ่ม กำหนดบทบาทหน้าที่ ร่างระเบียบกลุ่ม
    - ให้คำปรึกษากับชุมชน
    - แลกเปลี่ยนรู้ร่วมกับชุมชน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    15 กรกฎาคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    กฎระเบียบของกลุ่มที่สามารถปฏิบัติได้จริง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    พัฒนาชุมชน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 4,800 3 14,400
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,200 3 3,600
    ค่าถ่ายเอกสาร 50 คน 100 3 15,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง 10 คน 200 3 6,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
    รวมค่าใช้จ่าย 44,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 453,750.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 38,400.00 9,600.00 230,750.00 175,000.00 453,750.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 8.46% 2.12% 50.85% 38.57% 100.00%

    11. งบประมาณ

    453,750.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) ได้รับองค์ความรู้ในการเลี้ยงผึ้งป่าอย่างถูกต้อง ได้รับองค์ความรู้ในการเลี้ยงผึ้งป่าอย่างถูกต้อง
    ผลลัพธ์ (Outcome) สมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้งป่ามีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผึ้งป่า 3 ชนิด ได้แก่ รังผึ้งป่าหรือโก๋นผึ่งป่า ตัวอ่อนผึ้ง และน้ำผึ้ง เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนในการอนุรักษ์ไม้พื้นเมือง การเพาะเลี้ยงผึ้งป่า
    ผลกระทบ (Impact) ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้ในการเลี้ยงผึ้งป่า การอนุรักษ์พัฒนาป่าไม้ชุมชน ต่อยอดไปยังสมาชิกในชุมชนของตนเอง ขยายผลไปยังชุมชนอื่น สามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้อย่างยั่งยืน มีความสามารถในการออกแบบสิ่งประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในบีบ/รีด น้ำผึ้งป่าที่สามารถใช้ได้จริง
    นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 14:24 น.